โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
1. มีกรอบแนวทางการ ดำเนินงานในการพัฒนาระบบ ICT ที่เหมาะสมและ สอดคล้องกับมาตรฐานสากล 2. มีการบูรณาการในการ วางแผนต่างๆให้สอดคล้อง และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 3. ปรับปรุงโครงสร้าง พื้นฐานด้าน ICT 4. พัฒนาระบบสารสนเทศการ ตรวจสอบให้ทันสมัย มีระบบ รักษาความปลอดภัยที่ดี 5. สนับสนุนการตรวจสอบ ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
6. เข้าถึงข้อมูล และใช้ประโยชน์ จากข้อมูลได้อย่างทั่วถึง ทุก สถานที่ ทุกเวลา (Anywhere Anytime Any device ) 7. มีระบบฐานข้อมูลด้านการ ตรวจสอบ ที่รองรับข้อมูล ขนาดใหญ่ (Big Data) 8. สร้างรูปแบบการ เชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ 9. สร้างช่องทางในการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 10. พัฒนาบุคลากรให้สามารถใช้ งานระบบ ICT ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
1. สามารถควบคุมการปฏิบัติงาน ให้เป็นไปตามแผนการ ดำเนินงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. สามารถสร้างบุคลากรให้ สามารถใช้เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารได้ เพิ่มมากขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งระบบ 3. สามารถวัดผลความสำเร็จ ของแต่ละกลยุทธ์ และแผนงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. สามารถจัดสรรทรัพยากร ในการดำเนินงานและการ แก้ไขปัญหาต่างๆ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2. สามารถเพิ่มปริมาณ และ อัตราการใช้ประโยชน์ของ ทรัพยากรต่าง ๆรวมทั้ง เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารขององค์กรที่มีอยู่ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
6. สามารถเพิ่มจำนวน นวัตกรรม และองค์ความรู้ที่ อยู่ในองค์กรให้มากขึ้นได้ 7. สามารถปฏิบัติงาน ตรวจสอบให้เป็นไปตาม มาตรฐานเดียวกัน 8. มีกระบวนการทำงานที่ชัดเจน และเป็นไปตามมาตรฐานสากล 9. สามารถลดระยะเวลาใน กระบวนการทำงานต่างๆ ขององค์กรได้ โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
ระยะที่ 3 ระยะที่ 2 จัดทำแผนงานด้านเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ระยะที่ 1 พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ และ ปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐาน ICT พัฒนาทักษะการใช้ งานด้าน ICT ของ บุคลากร ปรับปรุง พัฒนา เครือข่ายการเชื่อมโยง ข้อมูลจากหน่วยงาน ภายนอกต่างๆ โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 1 1. รวบรวมข้อมูลการตรวจสอบที่เกี่ยวข้องให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล (Digital File) 2. จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำข้อเสนอแนะสำหรับการ จัดทำแผนแม่บท ICT ประจำปี จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำ กระบวนการทำงานของ สตง. 4. จัดจ้างที่ปรึกษาเพื่อศึกษา วิเคราะห์ และ ออกแบบระบบสารสนเทศประยุกต์ โครงสร้าง พื้นฐานด้าน ICT ตามกรอบแนวทางของ โครงการ “Thailand Smart e-Audit” 5. ประชุม ชี้แจง อบรม และประชาสัมพันธ์ การนำ ICT มาใช้ในการทำงานของ บุคลากร สตง. 6. ศึกษาและวิเคราะห์ เพื่อจัดทำร่างแนว ทางการดำเนินงาน การปรับปรุง การพัฒนา กฎระเบียบต่างๆ ในการทำงาน และมาตรฐาน ต่าง ๆ ที่จำเป็นและมีความเกี่ยวข้องต่อการ ปฏิบัติงานของ สตง. โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 1 1. จัดซื้อ / จัดจ้าง / พัฒนาระบบ สารสนเทศประยุกต์ และโครงสร้าง พื้นฐานต่างๆ และระบบสารสนเทศ ประยุกต์อื่นๆ 2. พัฒนาทักษะด้าน ICT ของ บุคลากรของ โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 1 1. ประชุมร่วมกับหน่วยงาน ภายนอกเพื่อให้ได้มาซึ่งการ เชื่อมโยงข้อมูลเพื่อการตรวจสอบ เงินแผ่นดิน 2. กำหนดแนวทาง รูปแบบ และ วิธีการที่เหมาะสมกับแต่ละหน่วยงาน โดยใช้แนวทางตามมาตรฐานสากล โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ
มีระบบสารสนเทศการตรวจสอบเงิน แผ่นดิน (e-Audit) ที่ทันสมัยให้กับบุคลากร ของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ใช้ ประโยชน์ ทำให้ปฏิบัติหน้าที่การตรวจสอบ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ