ขั้นตอนการใช้โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรม ระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้า สู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอน ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 เลือกเมนู Start.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
System Requirement Collection (2)
Advertisements

จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
Microsoft Word2007. การสร้าง กดที่ปุ่ม office button เลือกเมนู สร้าง.
พื้นฐานการใช้งานโปรแกรมAdobe Photoshop
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
สมาชิกกลุ่ม นายจตุพร ร้องเสียง เลขที่ 5 นายณัฐวัฒน์ เทพวรรณ์ เลขที่ 8
 การเปิดโปรแกรม MS-Word 2003  หน้าตาวินโดว์ของ Word  การเก็บบันทึกเอกสาร  การปิดเอกสาร  การสร้างเอกสารใหม่  การเปิดเอกสารเก่าขึ้นมาใช้งาน  การแทรกข้อความ.
Adobe Photoshop ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ ลักษณะ Software ที่ฉันชอบ วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop วิธีการใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop เหตุผลที่ชอบ.
วิชาโปรแกรมประมวลผลคำ
แนะนำเมนู และการใช้งาน โปรแกรม IEP ONLINE กลุ่มงานวิชาการ ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา.
การใช้งาน Microsoft Excel
นาย ชญานิน ฉวีอินทร์ รหัส กลุ่ม PE11 ตอนเรียน B06.
นางสาว ณัฐนิช อดิวัฒนสิทธิ์ วิทยาลัยนวัตกรรมสื่อสารสังคม
ซอฟต์แวร์ที่น่าสนใจ จัดทำโดย น.ส. จิตรวรรณ เอกพันธ์ sc คณะวิทยาศาสตร์ วิชาเอกคณิตศาสตร์ (กศ.บ.)
การรายงานข้อมูลในโปรแกรม School MIS กลุ่มงานวัดและประเมินผล สพป. พิษณุโลก เขต 3.
ฟอร์ม From หมายถึง การออกแบบการจัดการข้อมูล โดยจะทำการเชื่อมโยงกับฐานข้อมูลในรูป Table/Ouery เพื่อติดต่อกับผู้ใช้ให้เกิดความ สะดวกในการติดต่อข้อมูล เช่น.
เรื่อง การใช้งานโปรแกรม Microsoft office power point การใช้งาน โปรแกรม Microsoft Power Point.
การใช้โปรแกรม Microsoft Word XP Microsoft Word XP.
ขั้นตอนการใช้ โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรมระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้าสู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอนต่อไปนี้
Lab04 : การใช้โปรแกรม บรรณานุกรมพื้นฐาน EndNote X7 อ. อภิพงศ์ ปิงยศ สาขาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (BIS)
หน่วยที่ 1 เรื่อง การใช้โปรแกรมตารางงานนำเสนอข้อมูล สาระสำคัญ โปรแกรม Microsoft Excel เป็นโปรแกรมที่ สามารถช่วยในเรื่องการคำนวณทั้งการบวก การลบ การคูณ.
ศูนย์สารสนเทศ กรมป่าไม้. 1) การทำงานของระบบ 2) วิธีการใช้งานเบื้องต้น 3) การใช้งานระบบติดตามการบุกรุกทำลายป่า.
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
การพัฒนา Ontology 101 : คู่มือการสร้าง Ontology ชิ้นแรก Natalya F. Noy and Deborah L. McGuinness Stanford University, Stanford, CA,
INTRODUCE SUBJECT สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
เรื่อง แนะนำโปรแกรม Microsoft excel หน่วยการเรียนรู้ที่ 1.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
วิธีการใ ช้ โปรแกรมคำนวณคะแนน กลุ่มเกษตรกรดีเด่น กองพัฒนาสหกรณ์ด้าน การเงินและร้านค้า กรมส่งเสริม สหกรณ์
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
ขั้นตอนการใช้ โปรแกรม Adobe Illustrator ออกแบบการ์ดสำหรับ ผู้เริ่มต้น.
1 ปฏิบัติการที่ 03 การใช้งาน โปรแกรม Microsoft PowerPoint.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
สาธิตการใช้โปรแกรมฐานข้อมูล
สร้างสื่อนำเสนอ ข้อมูลด้วย
ขั้นตอนการกรอกข้อมูล ลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่นในระบบ
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
Microsoft Access 2007 การสร้างฟอร์ม
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
Microsoft Access MR. SANAE SUKPRUNG.
การจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม MS Access 2013
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เนื้อหา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
ความรู้เบื้องต้นโปรแกรม
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
การออกแบบแบบสอบถาม การออกแบบแบบสอบถาม
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
การออกแบบรายงาน ทางเครื่องพิมพ์
กิจกรรมที่ 7 นายปรีชา ขอวางกลาง
Integrated Mathematics
บทที่ 8 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างระบบการสอนบนเครือข่าย “Moodle” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา pws.npru.ac.th/thepphayaphong.
คู่มือการใช้งานระบบเสนอหัวข้อของนักศึกษา
การเขียนเว็บ Web Editor
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขั้นตอนการใช้โปรแกรม หลังจากเข้าสู่โปรแกรม ระบบปฏิบัติการ MS_WINDOWS สามารถเข้า สู่โปรแกรม Access ได้หลายวิธี ตามขั้นตอน ต่อไปนี้ วิธีที่ 1 เลือกเมนู Start เลือก All Program เลือก Microsoft office เลือก Microsoft Access 2010 วิธีที่ 2 คลิกไอคอน Shortcut โปรแกรม Access บนเดสก์ท็อป

หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนดได้ดังต่อไปนี้ 1. เลือกเมนูแฟ้ม (File) เลือก สร้าง (Create) เลือก ฐานข้อมูลเปล่า (Blank Database) 2. ระบุชื่อแฟ้ม (File Name) เลือก เพื่อ เลือก Drive และ Folder ที่ต้องการบันทึก 3. คลิกแถบเครื่องมือสร้าง (Create) 4. ะปรากฏหน้าต่างการออกแบบแฟ้มข้อมูล ใหม่

การออกแบบตาราง (TABLE) หมายถึง การออกแบบโครงสร้างข้อมูล เพื่อกำหนดเขตข้อมูลแต่ละชนิดหรือแต่ละเขต ข้อมูล (Field) ให้กับการบันทึกข้อมูลแต่ละ รายการ (Record)

การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการ กำหนดโครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ ออกแบบดังนี้

TEXT หมายถึง ข้อมูลประเภทตัวอักขระ ใดๆ Memo หมายถึง ข้อมูลประเภท รายละเอียดหรือการบันทึกบทความ Number หมายถึง ข้อมูลเชิงตัวเลข จำนวนเต็ม 0- 9 หรือตัวเลขทศนิยมทั้งค่าบวก และค่าลบ Data/Time หมายถึง ข้อมูลประเภท วันที่ รูปแบบ mm/dd/yy หรือข้อมูลประเภท เวลาที่ระบุตามรูปแบบ h:m:ss

Currency หมายถึง ข้อมูลประเภท ตัวเลขหรือทศนิยมที่ต้องการสัญลักษณ์ทาง การเงิน Auto Number หมายถึง การสร้างตัว เลขที่ใช้ในการนับเลขแบบอัตโนมัติ Yes/No หมายถึง ข้อมูลเชิงตรรกะ หรือ ข้อมูล 2 ลักษณะ OLE-Object หมายถึง ข้อมูลประเภท รูปภาพ หรือภาพกราฟิก Hyperlink หมายถึง การเชื่อมโยงข้อมูล ไปยังแฟ้มอื่นๆ ภายนอก

ประกอบด้วย 1. ขนาด (Field Size) หมายถึง ขนาดของ ข้อมูลแต่ละประเภท 2. รูปแบบ (Format) หมายถึง รูปแบบข้อมูล ในการแสดงผล 3. รูปแบบการป้อนข้อมูล (Input Mask) หมายถึง การสร้างรูปแบบตัวคั่นข้อมูลแต่ละคำ 4. ป้ายคำอธิบาย (Caption) หมายถึง คำอธิบายชื่อเขตข้อมูล 5. ค่าเริมต้น (Default Value) หมายถึง การ ให้ค่าข้อมูลเริ่มต้นสำหรับการบันทึกรายการใหม่

6. กฎการตรวจสอบ (Valldaton Rule) หมายถึง การสร้างกฎเพื่อตรวจสอบ ข้อมูล 7. ข้อความตรวจสอบ (Valldation Text) หมายถึง ข้อความที่กำหนดขึ้นเพื่อ แจ้ง บันทึกหรือแก้ไขที่ระบุข้อมูลที่ไม่เป็นไม่ตามกฎการ ตรวจสอบ 8. จำเป็น (Required) สำหรับกรณีต้องการ กำหนดให้บันทึกข้อมูลเสมอ 9. อนุญาตให้ความยาวเป็นศูนย์ (Allow Zero Length) 10. ใส่ดัชนี (indexed) สำหรับการกำหนดดัชนี ข้อมูลให้กับเซตข้อมูลที่เลือก

การป้อนข้อมูลบน Table หลังจากออกแบบ โครงสร้างตารางและทำการบันทึก โครงสร้าง เรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนต่อไปก็คือ การป้อนข้อมูลลง ในตารางซึ่งสามารถป้อนข้อมูลได้ 2 ทาง 1. ขั้นตอนการเข้าสู่มุมมองแผ่นข้อมูล (Datasheet) 2. การป้อนข้อมูล การเลื่อนข้อมูลแต่ละเชลล์ ด้วยเมาส์หรือแป้นพิมพ์ 3. การใช้ Lookup Wizard ในการป้อนข้อมูล 4. การป้อนข้อมูลในเขตข้อมูลประเภท OLE- Object