งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์
ASEAN Charter and AEC Blueprints ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

2 วัตถุประสงค์ของอาเซียน
ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิก ธรรมรงสันติภาพ เสถียรภาพ ความมั่นคง เสริมสร้างเศรษฐกิจและความอยู่ดีกินดีของประชาชน พัฒนาสังคมและวัฒนธรรม ส่งเสริมความร่วมมือกับภายนอก และองค์การระหว่าง ประเทศต่างๆ วัตถุประสงค์ของอาเซียน

3 หลักการพื้นฐานของอาเซียน
การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ (Consensus) การไม่แทรกแซงในกิจการภายในของกันและ กัน (Non-interference) การร่วมมือเพื่อพัฒนาความเป็นอยู่ของ ประชาชน (Prosperity) หลักการพื้นฐานของอาเซียน

4 ในระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียนที่เมืองกัวลาลัมเปอร์ ครั้งที่ 13 เมื่อ 20 พ.ย ผู้น้าอาเซียนได้ลงนามกฎบัตรอาเซียนซึ่งเป็นเสมือนธรรมนูญของอาเซียนที่จะวาง กรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองค์กร โดยมีเป้าหมาย 3 ประการ คือ -มีกฎกติกาในการทำงาน(Rules-based) -มีประสิทธิภาพ -มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง รัฐสมาชิกได้ให้สัตยาบันกฎบัตรอาเซียนครบทั้ง 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 2551 กฎบัตรอาเซียน

5 มุมมองกฎหมาย ถือเป็นธรรมนูญ (Constitution) ขององค์กร อาเซียน แต่จะเป็นเชิงโดยธรรมนูญที่ไม่ละเมิดอำนาจาอธิปไตยของรัฐ ภาคี (Soft constitution) มุมมองการเมือง เป็นการแสดงถึงเจตจำนงค์ทางการเมืองที่จะให้ความ ร่วมมือซึ่งกันและกันทางการเมืองระหว่างรัฐภาคี กฎบัตรอาเซียน

6 กฎบัตรอาเซียน มุมธรรมนูญระหว่างรัฐในอาเซียน (Constitution)
เป็นการกำหนดกฎหมายเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อ จัดตั้งองกรค์ อาเซียน ASEAN ให้เป็นองค์การระหว่างประเทศ ที่มีความสามารถในการทำ การต่างระหว่างประเทศ ยืนยันฐานะทางกฎหมายของ ASEAN ระบุหลักการสำคัญๆ เช่น การไม่แทรกแซงกิจการภายใน, เคารพใน อธิปไตยและบูรณภาพแห่ง ดินแดน, การระงับข้อพิพาทโดยสันติวิธี เป็นต้น สร้างระบบ Rules Based Organization ในอาเซียน จัดตั้งระบบการจัดการโครงสร้างภายใน ASEAN กฎบัตรอาเซียน

7 กฎบัตรอาเซียน มุมทางการเมือง ระหว่างรัฐ
เจตจำนงทางการเมืองที่จะให้ความ ร่วมมือซึ่งกันและกัน วิสัยทัศน์ การรวมกันเป็นหนึ่งภายใต้ความหลากหลาย(ASEAN Solidarity) การตัดสินใจโดยใช้ฉันทามติ Consensus กฎบัตรอาเซียน

8 กฎบัตรอาเซียน ตัวบท

9 กฎบัตรอาเซียน อารัมภบท หมวดที่ 1: ความมุ่งประสงค์และหลักการ
หมวดที่ 2: สภาพบุคคลตามกฎหมาย หมวดที่ 3: สมาชิกภาพ หมวดที่ 4: องค์กร หมวดที่ 5: องคภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน หมวดที่ 6: ความคุ้มกันและเอกสิทธิ์ หมวดที่ 7: การตัดสินใจ หมวดที่ 8: การระงับข้อพิพาท กฎบัตรอาเซียน

10 กฎบัตรอาเซียน หมวดที่ 9: งบประมาณและการเงิน
หมวดที่ 10: การบริหารและขั้นตอนการดาเนินงาน หมวดที่ 11: อัตลักษณ์และสัญลักษณ์ หมวดที่ 12: ความสัมพันธ์ภายนอก หมวดที่ 13: บทบัญญัติทั่วไปและบทบัญญัติสุดท้าย ภาคผนวก 1: องค์กรระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขา ภาคผนวก 2: องคภาวะที่มีความสัมพันธ์กับอาเซียน ภาคผนวก 3: ธงอาเซียน กฎบัตรอาเซียน

11 ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก AEC Blueprint
การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียว (Single Market & Production Base) การพัฒนาไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขัน สูง (Highly Competitive Economies Region) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค มีความเท่าเทียม กันในประเทศ (Equitable Economic Development) การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Integration into Global Economy AEC Blueprint

12 การเป็นตลาดเดียวและฐานการผลิตเดียว (Single Market & Production Base)
โดยให้มีการเคลื่อนย้าย สินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ และการเคลื่อนย้าย เงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ได้แก่ การยกเลิกภาษีศุลกากร การยกเลิก อุปสรรคทางการ ค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTBs) กำหนดมาตรฐานอาเซียน การปรับปรุงกฎว่าด้วย แหล่งกำเนิดสินค้า การอำนวยความสะดวก ทางการค้า การปรับประสานพิธีการ ศุลกากร การจัดตั้ง ASEAN Single Window ปรับประสานมาตรฐาน และลดอุปสรรค ทางเทคนิคต่อการค้า และการเปิดเสรีภาคบริการและการลงทุน

13 การพัฒนาไปสู่ภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง (Highly Competitive Economies Region)
การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของอาเซียน ซึ่งจะให้ ความสำคัญกับประเด็นด้านนโยบายอื่นๆ ที่จะช่วย ส่งเสริมการรวมกลุ่มทาง เศรษฐกิจ เช่น การมีกฎหมายสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและการพัฒนา โครงสร้างพื้นฐาน (การเงินการขนส่ง และเทคโนโลยีสารสนเทศ) และความ ร่วมมือด้านพลังงาน มาตรการภาษีที่เหมาะสม (Taxation) การส่งเสริม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์

14 การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค มีความเท่าเทียมกันในประเทศ
(Equitable Economic Development) สนับสนุนและ พัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) การลดช่องว่างระดับการ พัฒนาระหว่างประเทศสมาชิกใหม่ และสมาชิกเก่าผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการ Initiative for ASEAN Integration (IAI) และ ASEAN-help-ASEAN Program เป็นต้น

15 การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก (Integration into Global Economy)
เน้นการปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ ของอาเซียนกับประเทศภายนอกภูมิภาค เช่น การจัดทำเขตการค้าเสรี การให้สิทธิพิเศษด้านการลงทุนภายใต้เขตการ ลงทุน อาเซียน (IAI) กับนักลงทุนภายนอกอาเซียน และการสร้างเครือข่ายใน ด้านการผลิตและจำหน่าย เป็นต้น

16


ดาวน์โหลด ppt กฎบัตรอาเซียน และ อาเซียนบลูปรินส์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google