งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

2 สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

3 ระบบดูแลการช่วยเหลือนักเรียน
กระบวนการดำเนินงาน ดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและนอกสถานศึกษา มีวิธีการเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพและมีหลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้

4 กระบวนการและขั้นตอนของ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กระบวนการและขั้นตอนของ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 1.รู้จักนักเรียนรายบุคคล 2. คัดกรองนักเรียน ปกติ เสี่ยง มีปัญหา 3. ส่งเสริม 4. ป้องกัน/ช่วยเหลือ ดีขึ้น อาการ/พฤติกรรม 5. ส่งต่อ ไม่ดีขึ้น

5 การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
การรับรู้ข้อมูลด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับนักเรียน อย่างครบถ้วน เป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ มิใช่การใช้ความรู้สึกหรือการคาดเดา ได้แก่ ด้านความสามารถ (การเรียน, ความสามารถอื่นๆ) ด้านสุขภาพ (ร่างกาย, จิตใจ, พฤติกรรม) ด้านครอบครัว (เศรษฐานะ, การคุ้มครองนักเรียน) ด้านยาเสพติด ด้านความปลอดภัย ด้านอื่นๆ เช่น ด้านเพศ ด้านการเล่นเกม เป็นต้น

6 วิธีการและเครื่องมือในการรู้จักนักเรียน
ระเบียนสะสม แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths and Difficulties Questionnaire) การเยี่ยมบ้าน อื่นๆ

7 แบบประเมินจุดแข็งและจุดอ่อน (Strengths and Difficulties Questionnaire)
พัฒนาโดย Robert Goodman กรมสุขภาพจิตได้เพิ่มขั้นตอนการแปลและศึกษาค่าเกณฑ์เฉลี่ยในเด็กไทย จำนวน 25 ข้อคำถาม แบ่งหมวดพฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมเกเร พฤติกรรมอยู่ไม่นิ่ง ปัญหาทางอารมณ์ ปัญหาความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม

8 การคัดกรอง เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล และนำมาจำแนกตามเกณฑ์การคัดกรอง กลุ่มปกติ นักเรียนไม่มีพฤติกรรม ที่เป็นปัญหาและส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวัน คัดกรอง ข้อมูลนักเรียนเป็นรายบุคคล กลุ่มมีปัญหา นักเรียนที่มีพฤติกรรมปัญหาชัดเจน มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตประจำวัน ทั้งต่อตนเองและสังคม กลุ่มเสี่ยง นักเรียนที่มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไปจากปกติ เช่น เก็บตัว การแสดงออกเกินขอบเขต ทดลองสิ่งเสพติด ผลการเรียนเปลี่ยนแปลงในทางลบ เป็นต้น

9 การพัฒนาส่งเสริมนักเรียน
เป็นการสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ มีความภาคภูมิใจในตนเองในด้านต่างๆ มีกิจกรรมหลักสำคัญ คือ การจัดกิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) การจัดประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน (Classroom Meeting)

10 การป้องกันและแก้ไขปัญหา เป็นกระบวนการใช้เทคนิค ทักษะต่างๆ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา ถือเป็นการช่วยเหลือนักเรียน ในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มมีปัญหา เพื่อป้องกัน แก้ไขไม่ให้ปัญหานั้นซับซ้อนยิ่งขึ้น

11 การช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มมีปัญหา
การให้การปรึกษาเบื้องต้น การปรับพฤติกรรมด้วยกิจกรรมในชั้นเรียน เพื่อนช่วยเพื่อน การสื่อสารกับผู้ปกครอง การจัดกิจกรรมซ่อมเสริม การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดกิจกรรมเยี่ยมบ้าน อื่นๆ เช่น Case Conference, Youth counselor

12 การส่งต่อ กรณีที่บางปัญหามีความยุ่งยากซับซ้อน หรือช่วยเหลือแล้วนักเรียนมีพฤติกรรมไม่ดีขึ้น ควรดำเนินการส่งต่อไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อไป การส่งต่อภายใน การส่งต่อภายนอก

13 สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์
Child and Adolescent Mental Health Rajanagarindra Institute (CAMRI) กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข การเชื่อมโยงการดำเนินงาน บริการสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข (OHOS : One Hospital One School)

14 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล
การเชื่อมโยงการดำเนินงานบริการสุขภาพจิตเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ระหว่างสถานศึกษาและสถานบริการสาธารณสุข(OHOS : One Hospital One School) โรงเรียน 1.รู้จักเด็กเป็นรายบุคคล 2.คัดกรอง(SDQ) 3.ส่งเสริมพัฒนา 4.ป้องกันแก้ไข 5.ส่งต่อ YC Friend Corner ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน เครือข่ายผู้ปกครอง สาธารณสุข ศึกษาธิการ จัดบริการ คลินิกวัยรุ่น ระบบส่งต่อ โครงสร้าง อัตรากำลัง พยาบาลจิตเวช นักจิตวิทยา รพช. -คลินิกวัยรุ่น (Teen Center) -บูรณาการด้าน กาย จิต สังคม ของวัยรุ่น รพศ. รพท. -คลินิกวัยรุ่น (Teen Center) -ศูนย์พึ่งได้(OSCC) รพ. จิตเวช -งานบริการสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นแบบบูรณาการ

15 แนวทางการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนของคู่เครือข่าย
ผู้ปกครอง สาธารณสุข สถานศึกษา ให้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคล ร่วมส่งเสริมพัฒนาและดูแลช่วยเหลือนักเรียน ปกติ รู้จักนักเรียนรายบุคคล คัดกรองนักเรียน เสี่ยง/มีปัญหา ส่งเสริม ป้องกัน/ช่วยเหลือ อาการ/พฤติกรรม ส่งต่อ ติดตามประเมินผล สรุปรายงาน ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือรู้จักนักเรียนรายบุคคล ให้การปรึกษา/สนับสนุนเครื่องมือคัดกรองนักเรียน ให้การปรึกษา/ร่วมกิจกรรม ส่งเสริม ป้องกัน และช่วยเหลือเบื้องต้น แก่ครูที่ปรึกษา ให้การปรึกษา และ ร่วมประชุมปรึกษารายกรณี ในกรณีปัญหายุ่งยากซับซ้อน รับการส่งต่อ และบำบัดรักษา

16 Questions and Answers


ดาวน์โหลด ppt ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google