งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่

2 (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team)
MCATT (Mental Health Crisis Assessment and Treatment Team) หมายถึง ทีมสหวิชาชีพที่ให้การช่วยเหลือด้านจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร นักวิชาการสาธารณสุข ผู้รับผิดชอบงานด้านสุขภาพจิตและผู้ที่เกี่ยวข้อง

3 การบริการวิกฤตสุขภาพจิต Mental Health Crisis Center: MCC
ศูนย์วิกฤตสุขภาพจิต Mental Health Crisis Center: MCC

4 นโยบายของรัฐบาล 2 P Preparaton Prevention 2 R Response Recovery

5 ทีม EMS (Emergency Medical Service TEAM)
นโยบายปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีทีม MCATT ทุกอำเภอ โดยบูรณาการกับ...... ทีม DMAT (DISASTER MEDICAL ASSISTANT TEAM) ทีม MERT (Medical Emergency Response Team) ทีม PHER (Public Health Emergency Response Team) ทีม SRRT (Surveillance Rapid Response Team) ทีม EMS (Emergency Medical Service TEAM)

6 โครงสร้างและองค์ประกอบทีม MCATT

7 มาตรฐานทีม 1. การบริหารจัดการ 2. การปฏิบัติ 3. ติดตามประเมินผล

8 ???? ความต้องการในการอบรมเรื่อง......?

9 องค์ประกอบของทีม MCATT
แพทย์/จิตแพทย์ แพทย์ พยาบาล PG /พยาบาลปริญญาโท/พยาบาลจิตเวช นักวิชาการสาธารณสุข นักจิตวิทยา/นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร

10 บทบาทหน้าที่ของทีม MCATT
ร่วมทีมทางกาย ให้การช่วยเหลือและประเมินสถานการณ์ ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต จัดทีม MCATTประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ถ่ายทอดความรู้เรื่องการเยียวยาจิตใจ ถ่ายทอดความรู้แก่ อสม.รพ.สต. รายงานผลการปฏิบัติงาน

11 ลักษณะการปฏิบัติงานของทีม MCATT
ให้บริการในสถานบริการ ให้บริการในชุมชน เช่น วัด ศาลาประชาคม ศาลเจ้า ที่พักศูนย์พักพิง ปรับตัวได้ มีความยืดหยุ่น อดทน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี หน่วยบริการเคลื่อนที่ เช่น บนรถ เรือ เดินเยี่ยมตามบ้าน

12 โครงสร้างสายการบังคับบัญชา
รูปแบบของทีม MCATT โครงสร้างสายการบังคับบัญชา มีการมอบหมายบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจน มีการประเมินผลการปฏิบัติงาน

13 ผังไหลระบบการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบ
ขั้นตอนการช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภาวะวิกฤต สำหรับทีมMCATT ระดับจังหวัด อำเภอ ผังไหลระบบการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบ ภาวะวิกฤตสำหรับทีม (MCATT) ระดับจังหวัดและระดับอำเภอ click ภาวะวิกฤตสำหรับทีม (MCATT) ระดับกรมสุขภาพจิต

14 ระบบการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต (ต่อ)
บทที่ 2 ระบบการปฏิบัติงานช่วยเหลือเยียวยาจิตใจ ผู้ประสบภาวะวิกฤต (ต่อ) ระยะเตรียมการ click ระยะวิกฤตและฉุกเฉิน click ระยะวิกฤต (72 ชั่วโมงแรกหลังเกิดเหตุ) ระยะฉุกเฉิน (72 ชั่วโมง – 2 สัปดาห์) ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ - 3 เดือน) click ระยะฟื้นฟู (หลังเกิดเหตุการณ์ 3 เดือนขึ้นไป) click

15 ระยะการตอบสนอง การให้การช่วยเหลือของทีม MCATT
ระยะเตรียมการ - นโยบายระดับจังหวัด - จัดตั้งศูนย์อำนวยการช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตระดับจังหวัด - เตรียมความพร้อมของทีม จัดตั้งคณะกรรมการ จัดตั้งทีม MCATT และกำหนดโครงสร้างบทบาทหน้าที่

16 จัดทำแผนการปฏิบัติอบรมด้านวิกฤต
ด้านบุคลากรอำเภอละ 1 ทีม งบประมาณ เครื่องมือประเมินคัดกรอง วัสดุ อุปกรณ์ เอกสารความรู้ ฐานข้อมูล ช่องทางการสื่อสาร ซ้อมแผน เน้นซ้อมแผนบนโต๊ะ สรุป

17 ระยะวิกฤตและฉุกฉิน (72 ชม - 2 สัปดาห์)
ทีม MCATT ร่วมกับทีมดูแลทางกาย ประเมินสถานการณ์ด้านสุขภาพจิต สำรวจความต้องการด้านร่างกายและจิตใจ ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจโดยใช้ PFA คัดกรองและค้นหากลุ่มเสี่ยง

18 ระยะหลังได้รับผลกระทบ (2 สัปดาห์ – 3 เดือน)
ทีม MCATT เข้าพื้นที่ ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต ค้นหากลุ่มเสี่ยง ประเมินคัดกรองภาวะสุขภาพจิต โดยใช้ แบบประเมินความเครียด ST 5 ประเมินภาวะซึมเศร้า และ เสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย DS 8

19 ให้การช่วยเหลือตาม PFA
กรณีเด็ก ใช้ symptom check list ส่วนที่ 8 ของเวชระเบียนและใช้เครื่องมือประเมิน คัดกรองเด็กตามสภาพปัญหา ให้การช่วยเหลือตาม PFA

20 ระยะฟื้นฟู ติดตามกลุ่มเสี่ยง (MCATT 2) ประเมินคัดกรองกลุ่มเสี่ยงซ้ำ
ให้การช่วยเหลือตามสภาพปัญหา และส่งต่อ ติดตามดูแลต่อเนื่องภายหลังการส่งต่อ สรุป รายงาน

21 การรายงาน แบบรายงาน MCATT 1 ทะเบียนติดตามผู้ประสบภาวะวิกฤตต่อเนื่อง

22 ระบบการรายงาน ทีม MCATT ระดับจังหวัด อำเภอ รายงานมาที่ สสจ.
สสจ. รายงานมาที่ War room กระทรวงสาธารณสุข

23 กลุ่มผู้ประสบภาวะวิกฤตที่เป็นกลุ่มเสี่ยง
ผู้สูญเสียบุคคลในครอบครัว/ทรัพย์สิน ผู้ป่วยจิตเวชเดิม/ใช้สารเสพติด ผู้สูงอายุ/เด็ก ที่ขาดคนดูแล ผู้เจ็บป่วยเรื้อรัง/ผู้พิการ ผู้ที่ต้องการบริการด้านสุขภาพจิต


ดาวน์โหลด ppt การบริการวิกฤตสุขภาพจิตและการปฏิบัติงานทีม MCATTและบทบาทหน้าที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google