งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน
ประเวช ตันติพิวัฒนสกุล นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ กรมสุขภาพจิต ผู้จัดการแผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต สสส.

2 ปัจจัยความสำเร็จงานเยาวชน
เสี่ยงไม่เท่ากัน ทักษะชีวิต (life skills, resilience, sex education) เยาวชนมีส่วนร่วม สร้างค่านิยมและความคาดหวังที่ถูกต้องต่อกัน (พื้นที่สำหรับเยาวชน) ปรับปรุงความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ (โดยเฉพาะกับพ่อแม่ และผู้ใหญ่ในชุมชน-โรงเรียน) ข้อมูลและบริการ ปัจจัยความสำเร็จ จากโครงการเยาวชนทั่วโลก (UNICEF)

3 ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
หลักฐานสนับสนุนชัดเจน เพศศึกษาในโรงเรียน เชื่อมโยงบริการคุมกำเนิด 2. ศูนย์เยาวชน ครอบครัว ในชุมชน 3. โปรแกรมพัฒนาเยาวชน (ทักษะชีวิต ทักษะอารมณ์สังคม) 4. บริการเชิงรุกสู่ครอบครัวเยาวชน From : National Health Service Teenage pregnancy and parenthood: a review of reviews Evidence briefing Catherine Swann, Kate Bowe, Geraldine McCormick and Michael Kosmin February 2003

4 ลดการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
● หลักฐานสนับสนุนพอควร 1. พัฒนาบริการคุมกำเนิด 2. บริการสำหรับเยาวชน ทั้งชายและหญิง 3. เน้นเยาวชนกลุ่มเสี่ยง พัฒนาทักษะสัมพันธภาพ 4. ตรวจสอบว่า กิจกรรมและบริการเข้าถึงได้ โดยเยาวชน 5. คัดเลือกบุคลากรที่ใส่ในงานเยาวชน 6. ทำงานร่วมกับผู้นำความคิดของเยาวชน และใช้อิทธิพลของกลุ่มเพื่อน 7. สนับสนุนวัฒนธรรมการพูดคุยเรื่องเพศ การคุมกำเนิด

5 แนวทางขององค์การอนามัยโลก
สนับสนุนให้แต่งงานเมื่ออายุมากขึ้น ช่วยเหลือเด็กกลุ่มด้อยโอกาส (เนื่องจากเป็นกลุ่มเสี่ยง) เพศศึกษา บริการวางแผนครอบครัว (contraceptive) สำหรับวัยรุ่น (รวมการทำแท้งอย่างปลอดภัย) (จาก Adolescent Pregnancy: Issues in Adolescent Health and Development, WHO 2004)

6 มาตรการสำคัญ ศึกษา สาธารณสุข ชุมชน ท้องถิ่น พื้นที่เยาวชน เวทีพ่อแม่
พัฒนานักเรียน ทักษะชีวิต/เพศศึกษา เวทีเรียนรู้สำหรับพ่อแม่ คัดกรองและส่งต่อ พัฒนาเยาวชน เวทีเรียนรู้สำหรับพ่อแม่ บริการเชิงรุกที่เป็นมิตร

7 ผลการติดตามประเมินผลของสำนักตรวจฯ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ปี 2555
ขาดความมีส่วนร่วม ต่างคนต่างทำ ทำเป็นโครงการ ไม่ต่อเนื่อง ขาดแผนระดับจังหวัด ครูขาดความมั่นใจเรื่องเพศศึกษา ครู พ่อแม่ ผู้ปกครอง ขาดทัศนคติที่เอื้อต่อการแก้ปัญหา

8 เครื่องมือพัฒนาเยาวชนและพ่อแม่
“คุยกับลูกวัยรุ่น” ละคร 5 ตอน “(กล้า) คุยกับลูกเรื่องเพศ” ละคร 4 ตอน “พ่อแม่เลี้ยงบวก” สื่อเสียงละคร 2 นาที “เทคนิคเลี้ยงลูกวัยประถม “เติมเต็มความเข้มแข็งทางใจ” ละครสั้น 16 ตอนสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษา “การ์ตูนทักษะชีวิต” 12 ตอน สำหรับนักเรียนประถม 1-3 ทุกเครื่องมือออกแบบให้ใช้งานง่าย ไม่ต้องอาศัยการอบรมเพื่อการใช้งาน วิทยากรทำหน้าที่ดูแลกระบวนการเรียนรู้ตามขั้นตอนของสื่อ

9

10 บทเรียนการจัดพื้นที่นอกเวลาสำหรับเยาวชน
จัดสถานที่เพื่อการรวมกลุ่มทำกิจกรรมร่วมกัน สนับสนุนบทบาทของผู้นำเยาวชน คำนึงถึงการสืบทอดผู้นำ เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เลือกทำกิจกรรมหลากหลายตามความสนใจ ให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เช่น ผู้ปกครอง แกนนำชุมชน พระสงฆ์ อปท.

11 บทเรียนการจัดพื้นที่นอกเวลาสำหรับเยาวชน
คำนึงถึงความยั่งยืนในการดำเนินงาน กิจกรรมสร้างรายได้ช่วยให้เยาวชนเกิดความภาคภูมิใจ รู้จักพึ่งตนเอง เปิดโอกาสให้เยาวชนทุกกลุ่มเข้าร่วม โดยเฉพาะกลุ่มเสี่ยง ควรเชิญผู้สูงอายุที่มีความถนัดด้านต่างๆ ร่วมถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์

12 เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว
เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว วัยรุ่น พ่อแม่ ได้ทบทวนตัวเอง เกิดความรู้สึกที่ดี เป้าหมายชัดขึ้น มองโลกแง่ดี เห็นศักยภาพตนเอง มีสัมพันธภาพที่ดีในกลุ่ม เข้าใจและยอมรับผู้อื่น รู้สึกดีและเคารพพ่อแม่มากขึ้น กล้าเปิดเผยกับผู้ปกครอง มีกำลังใจ (ไม่คิดฆ่าตัวตาย) มีทัศนคติที่ดีต่อกัน เข้าใจการเปลี่ยนแปลงในเด็ก สื่อสารทางบวก มีเวลาให้กันมากขึ้น คำนึงถึงความรู้สึกลูก มีสติมากขึ้น ยอมรับในความผิดพลาดของตน

13 เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว
เรื่องเล่าจากพื้นที่นำร่อง สื่อเยาวชนและครอบครัว ชุมชน จากหลากหลายกิจกรรม ก่อให้เกิด แนวร่วมและเครือข่ายในชุมชน วัยรุ่นมีความเสี่ยงน้อยลง การตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมน้อยลง


ดาวน์โหลด ppt สร้างสุขในเยาวชนและครอบครัว ป้องกันปัญหาตั้งครรภ์ในเยาวชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google