งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนา วัดศรีสุพรรณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนา วัดศรีสุพรรณ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนา วัดศรีสุพรรณ
(วิทยาลัยในวัง สาขาจังหวัดเชียงใหม่)

2 ความเป็นมาของศูนย์ฯ ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนาวัดศรีสุพรรณ (วิทยาลัยในวัง สาขาจังหวัดเชียงใหม่) ก่อตั้งอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ โดยมติที่ประชุม ระหว่าง ผอ.สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กับ ผอ.ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก (วิทยาลัยในวัง)

3 วัตถุประสงค์ของศูนย์ฯ
เป็นศูนย์กลางการจัดการเรียนรู้ สืบทอดงานช่าง สิบหมู่ล้านนาถวายแด่พระสงฆ์สามเณร นักเรียน นักศึกษา เด็กเยาวชนในถิ่นทุรกันดาร ประชาชนในชุมชนท้องถิ่น และผู้สนใจ สนองงานมหาเถรสมาคมและสนองงาน ตามพระราชดำริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี และพระบรมสานุวงศ์

4 คณะกรรมการบริหาร

5 แผนภูมิการบริหาร ประธานกรรมการบริหาร พระครูพิทักษ์สุทธิคุณ
คณะกรรมการ/ ที่ปรึกษา ดร.ชวชาต สุคณธปฏิภาค นายณรงค์ ทรงอารมณ์ ผอ. รองประธานกรรมการบริหาร นายปรีชา ขันธนันต์ ฝ่ายบริหารสำนักงาน นายไพศาล แก้วรากมุก เจ้าหน้าที่สำนักงาน นางสาวศิริลักษณ์ กันธามูล ฝ่ายวิชาการศูนย์ พระมหาไพรัช วชิโร เจ้าหน้าที่วิชาการ ฝ่ายส่งเสริมการศึกษา พระสมศักดิ์ ฐิตธมฺโม เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการศึกษา

6 แผนภูมิการดำเนินงาน

7 บุคลากรครูภูมิปัญญา นายเสนีย์ ไชยรังสี ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายนูนสูง) นางสาวมณฑกานต์ ตันทะรัตน์ ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายนูนสูง) นางจันทร์สม เที่ยงจันตา ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายนูนต่ำ) นางอำภา สงจันทร์ ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายนูนต่ำ) นายปรีชา สานเมทา ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายนูนต่ำ) นางกมลพรรณ สุทธิ ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายเบา) นางนิตยา บุนนาค ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายเบา) นายเชาว์เลิศ โกมาร ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายเบา) สามเณรสุทธิพงษ์ มาผาบ ครูภูมิปัญญาเครื่องเงิน (บุดุนลายเบา)

8 โรงเรียนเครือข่าย ปีการศึกษา๒๕๕๖ โรงเรียนเครือข่าย ปีการศึกษา๒๕๕๗
จำนวน ๑๐ โรงเรียน โรงเรียนเครือข่าย ปีการศึกษา๒๕๕๗ จำนวน ๑๙ โรงเรียน

9 โรงเรียนส่งนักเรียนมาเรียน ในศูนย์ศึกษาศิลปะฯวัดศรีสุพรรณ ปี๒๕๕๖
โรงเรียนหางดงสังฆราษฎร์อุปถัมภ์ เรียนวันอังคาร ๕๓ รูป โรงเรียนธรรมเมธีศึกษา เรียนวันพุธ ๘๐ รูป โรงเรียนอภัยอริยศึกษา เรียนวันพฤหัสบดี ๗๔ รูป โรงเรียนสามัคคีวิทยาทาน เรียนวันศุกร์ ๘๑ รูป

10 หลักสูตรวิทยาลัยในวัง ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก
หมู่ช่างบุ (งานบุดุน) เวลาเรียน 800 ชั่วโมง เปิดสอนพัฒนาศักยภาพครูภูมิปัญญา หมู่ช่างบุ (งานบุดุน) เวลาเรียน 300 ชั่วโมง เปิดฝึกอบรมผู้สนใจทั่วไป จบหลักสูตร รับวุฒิบัตรจากวิทยาลัยในวัง

11 หลักสูตรภูมิปัญญาศูนย์ฯ
๑.วิชาหัตถกรรมเครื่องเงิน(บุดุน) หลักสูตร ๓, ๖, ๔๐, ๒๕๐, ๓๐๐ ชั่วโมง บุดุน(ต้องลาย) ลายเบา, ลายนูนต่ำ, ๒.วิชาหัตถกรรมเครื่องเงินขึ้นรูป ๓.วิชาหัตถกรรมเครื่องเขิน

12 หลักสูตรห้องเรียนเครือข่าย ๑.วิชาหัตถกรรมแกะสลักไม้สันป่าตอง
๒.วิชาหัตถกรรมทำร่มแดงแม่วาง

13 ภาพกิจกรรมถ่ายทอดและสืบสาน ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณฯวัดศรีสุพรรณ
ภูมิปัญญาต้องลาย ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณฯวัดศรีสุพรรณ

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

33

34

35


ดาวน์โหลด ppt ศูนย์ศึกษาศิลปะไทยโบราณสล่าสิบหมู่ล้านนา วัดศรีสุพรรณ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google