งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ 1 กรกฎาคม 2553

2 บทบาทพยาบาล การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังแต่ละระยะ
การดูแลผู้ป่วยเพื่อชะลอไตเสื่อม การเตรียมผู้ป่วยเข้ารักษาด้วย RRT - ยา - โภชนบำบัดและปรับวิถีชีวิต การดูแลผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาลและที่บ้าน

3 การประเมินการทำงานของไต
ผู้ป่วยที่มี GFR< 90 มล./นาที/1.73 ตรม. ถือว่า “เริ่มมีไตเสื่อม” (CKD ระยะที่ 2) ผู้ป่วยที่มี GFR<60 มล./นาที/1.73 ตรม. หรือมี serum Creatinine >1.4 มก./ดล.ในผู้ป่วยกลุ่มาสี่ยงอื่นๆ >1.2 มก./ดล.ในผู้ป่วยเบาหวาน ถือว่า “มีไตเสื่อมชัดเจน” (CKD ระยะที่ 3)

4 การแบ่งระยะโรคไตเรื้อรัง
คำจำกัดความ GFR (มล./นาที/1.73 ตรม.) ผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไตเรื้อรัง 90 (ร่วมกับปัจจัยเสี่ยง) 1 ไตผิดปกติและ GFR ปกติหรือเพิ่มขึ้น 90 2 ไตผิดปกติและ GFR ลดลงเล็กน้อย 60-89 3 GFR ลดลงปานกลาง 30-59 4 GFR ลดลงมาก 15-29 5 ไตวายระยะสุดท้าย <15 (หรือต้องล้างไต)

5 การปรึกษาและส่งผู้ป่วยพบแพทย์โรคไต เมื่อ
ผู้ป่วยมี Serum Creatinine >2 มก./ดลหรือ ผู้ป่วยมีภาวะที่แพทย์ไม่สามารถตรวจวินิจฉัยหรือรักษาได้เอง หรืออาการของผู้ป่วยไม่ดีขึ้น โดยเฉพาะเมื่อไม่สามารถชะลอการเสื่อมของไตได้ ข้อแนะนะสากลให้ส่งเมื่อ GFR<30 มล./นาที/1.73 ตรม. แต่ประเทศไทยมีแพทย์จำกัด จึงใช้ค่าดังกล่าว

6 แพทย์โรคไตได้ตรวจแล้ว ดำเนินการต่อไปนี้
ส่งผู้ป่วยกลับไปได้ แพทย์ดูแลต่อโดยต้องมีคำแนะนำในแนวทางและแผนการรักษาให้ด้วย แพทย์โรคไตจะต้องให้ความร่วมมือในการให้คำแนะนำแก่แพทย์ในกรณีที่แพทย์ขอความเห็นหรือคำแนะนำ

7 การให้ความรู้และคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
ตั้งแต่เริ่มพบว่าเป็นโรคไตเรื้อรัง ควรได้รับคำแนะนำต่อเนื่องเป็นระยะ ๆ ควรได้รับความรู้ครอบคลุมโรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ การดำเนินของโรคไตเรื้อรัง การดูแลตนเองแบบบูรณาการทั้งร่างกายและจิตใจ ควรแจ้งเรื่องทางเลือกในการบำบัดทดแทนไต ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ป่วยและครอบครัวได้เข้าใจ และเตรียมตัวเตรียมใจ และดูแลตนเองอย่างบูรณาการ

8 หลักและเป้าหมายของการดูแลทั่วไปเพื่อชะลอการเสื่อมของไต
ผู้ป่วยควรได้รับการดูแลรักษาที่เหมาะสม ประกอบด้วยการดูแลรักษา และควบคุม โรคพื้นฐานของผู้ป่วย เช่น เบาหวาน นิ่ว เป็นต้น ความดันโลหิต ปรับการรับประทานอาหาร (โปรตีน ไขมัน โซเดียม โปแตสเซียม ฯลฯ) หลีกเลี่ยงเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ และงดบุหรี่ การปรับวิถีชีวิต เช่น ออกกำลังกาย ลดน้ำหนัก ลดความเครียด

9 ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาโดยมีเป้าหมายของการรักษา ดังนี้
ให้ผู้ป่วยมีอาการและอาการแสดงจากโรคต้นเหตุ ภาวะแทรกซ้อนและให้มีอัตราการเสื่อมของไตน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ระดับเกลือแร่และภาวะกรดด่างในเลือดให้อยู่ในพิสัยปกติทั้งนี้เป็นการดูแลภาวะแทรกซ้อนจากภาวะไตเสื่อมด้วยการ 1. ควบคุมรับประทานเกลือ 2. การจำกัดปริมาณน้ำดื่ม 3. การจำกัดอาหารที่มีโปรแตสเซียม

10 ผู้ป่วยควรได้รับการดูแล
Serum Calcium และ Phosphate ให้อยู่ในพิสัยปกติ Serum albumin ไม่ต่ำกว่า 3.5 กรัม/ดล. (โดยไม่มีภาวะทุโภชนาการ) Serum uric acid ไม่มีระดับตัวเลขเป้าหมายที่เหมาะสมแต่ผู้ป่วยไม่ควรมีอาการใด ๆ Hematocrit ไม่ต่ำกว่าร้อยละ หรือ Hemoglobin ไม่ต่ำกว่า กรัม/ดล.

11 คำแนะนำผู้ป่วยและครอบครัวเตรียมตัวเพื่อการบำบัดทดแทนไต
เมื่อเริ่มเข้าสู่โรคไตเรื้อรังระยะ 4 ที่แสดงอาการของยูรีเมียแล้ว การเลือกวิธีการรักษาทดแทนไตที่เหมาะสม การเตรียมหลอดเลือด หรือการล้างของเสียทางช่องท้อง การดูแลตนเองก่อนและระหว่างการรักษาทดแทนไต ผู้ป่วยที่เริ่มรักษาบำบัดทดแทนไต ควรอยู่ในความดูแลหรือร่วมดูแลของแพทย์โรคไต

12 การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต
1. การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : มีเป้าหมายดังนี้ - FBS มก./ดล. - HbA,C<7.0% ในผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ดีควรตรวจ HbA,C อย่างน้อยทุก 6 เดือน ในผู้ป่วยที่ควบคุมน้ำตาลได้ไม่ดีควรตรวจ HbA,C อย่างน้อยทุก 3 เดือน ยาที่ใช้ควรเป็น Insulin ยากินมักจะขับออกทางไต

13 การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต (ต่อ)
2. การควบคุมความดันโลหิตในผู้ป่วยเบาหวาน BP<130/80 mmHg BP= /65-79 mmHg (ผู้ป่วยตั้งครรภ์) 3. การควบคุมความดันโลหิต BP>140/90 mmHg ต้องได้รับการปรับวิถีชีวิตร่วมกับยาลดความดันโลหิต

14 การดูแลผู้ป่วยโรคไตจากเบาหวาน เพื่อชะลอการเสื่อมของไต (ต่อ)
4. ผู้ป่วยที่มี BP /80-90 mmHg ควรได้รับการปรับวิถีชีวิตก่อน หลังจากนั้นอีก 3 เดือน ถ้าพบว่าความดันโลหิตไม่ลดตามเป้าหมาย ควรได้รับยาลดความดันโลหิต เพื่อให้ได้ตามเป้าหมาย 5. ผู้ป่วยสูงอายุควรลดความดันโลหิตลงช้า ๆ จนถึงเป้าหมาย

15 ผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถลดความดัน
โลหิตได้ (<130/80 mmHg) สามารถลดอัตราการเกิดโรคหัวใจ หลอดเลือดสมองและโรคไตจาก เบาหวาน

16 แหล่งข้อมูล การคำนวณค่าอัตราการกรองของไต (ทางอินเตอร์เนต)
Nephromatic intelligent renal caluculators

17 จบการนำเสนอ ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google