งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สำนักโรคงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 นครราชสีมา

2 ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย 2550-2559
วิสัยทัศน์ ประชาชนมีศักยภาพในการจัดการปัจจัยเสี่ยงและสภาพแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิต ด้วยการรวมพลังขับเคลื่อนจากทุกภาคส่วนอย่างบูรณาการ สมดุล ยั่งยืนและเป็นสุขบนพื้นฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

3 พันธกิจ สร้างชุมชน ท้องถิ่น สังคมที่ตระหนัก ลดปัจจัยเสี่ยง เสริมปัจจัยเอื้อ และมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็งในการผลักดันนโยบายสู่การปฏิบัติการค้นหา เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม จัดการปัญหาและพัฒนาของทุกภาคส่วนอย่างเป็นระบบ องค์รวม ครอบคลุมมีประสิทธิภาพ

4 ประเด็นยุทธศาสตร์ นโยบายสาธารณะสร้างสุข
การขับเคลื่อนทางสังคมและสื่อสารสาธารณะ การพัฒนาศักยภาพชุมชน การพัฒนาระบบเฝ้าระวังและการจัดการโรค การสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุน ยุทธศาสตร์

5 มาตรฐานตัวชี้วัด: การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน

6 สื่อสารเตือนภัย(3) ประเมินสถานการณ์(2)
นโยบาย/แผน(2) คณะกรรมการ(2) ประชุมติดตาม(1) ประเมินสถานการณ์(2) สื่อสารเตือนภัย(3) กระบวนการ (4) > 1 ชุมชน (1) ลดเกลือ/หวาน/มัน เพิ่มผักผลไม้ (2) Activity (2) บุหรี่/สุรา (1) HbA1C (2) Acute Stroke ได้รับยาตามแนวทางรักษา Stroke Unit (2) ทะเบียน/ติดตาม มีคู่มือฯ ดำเนินงานคัดกรองฯ (2) (1) (3) 6

7

8 ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) ได้รับบริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง
บูรณาการแผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่มีความสำคัญระดับชาติ (National priority Program) เป้าหมายปี 2552 ร้อยละ 50 ของกลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) ได้รับบริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง

9 คำจำกัดความ กลุ่มเสี่ยง (ปานกลาง) หมายถึง ประชาชนที่ผ่านการคัดกรองจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและได้รับการแจ้งผลว่าจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงปานกลางต่อโรคเบาหวานและ/หรือความดันโลหิตสูง (BP: /80-89 mmHg, FPG: mg%) บริการลดเสี่ยงต่อเนื่อง หมายถึง การได้รับการจัดบริการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง และได้รับการติดตามประเมินผลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างน้อย 1 ครั้ง (จากหนังสือ “แนวปฏิบัติสำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในการจัดบริการคัดกรองและเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดเสี่ยงลดโรคไม่ติดต่อในสถานบริการและในชุมชน” ของสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค)

10 การดำเนินงานประกอบด้วย 6 มาตรการหลัก ดังนี้
มาตรการที่ 1 ระบบการเฝ้าระวังติดตามพฤติกรรมสุขภาพ และการคัดกรองความเสี่ยงโรคอ้วนลงพุงและเบาหวาน 2 ระดับ (ระดับชุมชนและระดับสถานบริการ) มาตรการที่ 2 การสร้างความตระหนักการให้ความรู้ในวงกว้างและการรณรงค์สร้างกระแสเน้นเรื่องการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต มาตรการที่ 3 การเสริมสร้างสิ่งแวดล้อมและลดเสี่ยงในชุมชน

11 มาตรการที่ 4 การให้คำปรึกษาและปรับพฤติกรรมในกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยในสถานบริการ
มาตรการที่ 5 การเสริมสร้างศักยภาพผู้ดำเนินงานตาม แผนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีความสำคัญ ระดับชาติให้มีความเข้มแข็ง มาตรการที่ 6 การนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล

12 ป้องกันดีขึ้น รักษาดีขึ้น ลดเสี่ยง ลดโรค


ดาวน์โหลด ppt นโยบายการดำเนินงานโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด: จังหวัดมีการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง (สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน โดย รัตนาภรณ์ ฮิมหมั่นงาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google