งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารราชการแผ่นดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารราชการแผ่นดิน
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า โรงเรียนวังไกลกังวล

2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
รู้และเข้าใจบทบาทและอำนาจหน้าที่ขององค์กรที่เกี่ยวข้องกับ การบริหารราชการแผ่นดิน

3 การบริหารราชการแผ่นดิน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น

4 ประโยชน์ของการแบ่งส่วนราชการ
1. คุณภาพของงาน มีประสิทธิภาพ 2. การบริการและการดูแลประชาชน ทั่วถึง รวดเร็ว 3. การกระจายอำนาจการปกครอง และการปกครองตนเอง

5 การบริหารราชการแผ่นดิน
ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น - สำนักนายก รัฐมนตรี - กระทรวง ทบวง - กรม - กอง - แผนก - องค์การบริหาร ส่วนจังหวัด - เทศบาล ส่วนตำบล - สุขาภิบาล - กรุงเทพมหานคร - เมืองพัทยา - จังหวัด - อำเภอ - ตำบล - หมู่บ้าน

6 ระเบียบบริหาร ราชการส่วนกลาง
เป็นการทำหน้าที่นำนโยบายของรัฐบาล มาวางแผนอำนวยการ ควบคุม และ ประสานงาน เพื่อให้การดำเนินงาน เป็นไปตามนโยบายรัฐบาล

7 ส่วนราชการซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากรม
1. สำนักราชเลขาธิการ 2. สำนักพระราชวัง 3. สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

8 4. สำนักงานคณะกรรมการพิเศษ
เพื่อประสานงานโครงการอันเนื่อง มาจากพระราชดำริ 5. สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 6. ราชบัณฑิตยสถาน 7. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

9 8. สำนักงานป้องกันและปราบปราม
การฟอกเงิน 9. สำนักงานอัยการสูงสุด

10 ระเบียบบริหาร ราชการส่วนภูมิภาค
ทำหน้าที่เป็นตัวแทนของส่วนกลาง นำแผนและโครงการไปปฏิบัติ แบ่ง อำนาจการบริหาร ให้จังหวัดและ อำเภอ 3 3 3 3 3 3 8 3 3

11 การดำเนินงาน 1. บริหารให้เป็นไปตามกฎหมายและ ระเบียบแบบแผนของทางราชการ
2. ปฏิบัติตามคำแนะนำและคำชี้แจง จากผู้ว่าราชการจังหวัด

12 3. ควบคุมการบริหารราชการส่วน
ท้องถิ่นในอำเภอ 4. แต่ละอำเภอแบ่งเป็นหลายตำบล 5. แต่ละตำบลแบ่งเป็นหลายหมู่บ้าน

13 ระเบียบบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น
เป็นการบริหารที่กระจายอำนาจไปสู่ ท้องถิ่น ให้ประชาชนมีส่วนในการ บริหารกิจการตามหลักการกระจาย อำนาจการปกครอง อยู่ภายใต้การ ดูแลของรัฐบาล 3 3 3 3 3 3 8 3 3

14 องค์การบริหารส่วนจังหวัด
ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร ผู้ว่าราชการจังหวัด (แต่งตั้ง) สภาจังหวัด(เลือกตั้ง) ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด 8 7 7

15 สภาเทศบาล(นิติบัญญัติ)
ประชาชน(เลือกตั้ง) สภาเทศบาล(นิติบัญญัติ) คณะเทศมนตรี(บริหาร) นายกเทศมนตรี ปลัดเทศบาล(พนักงานประจำ) สำนัก/กองต่างๆ สำนักงานปลัดเทศบาล 8 7 7

16 องค์การบริหารส่วนตำบล
1. จัดตั้งโดย พ.ร.บ.สภาตำบลและ องค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 2. ต้องทำเป็นประกาศของกระทรวง มหาดไทย

17 องค์การบริหารส่วนตำบล
เลือก ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร - กำนัน - ผู้ใหญ่บ้าน - สมาชิกที่ได้รับ เลือกตั้ง โดย ตำแหน่ง เลือกตั้ง 8 7 7

18 กรุงเทพมหานคร 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 2. ผู้ว่าราชการเป็นผู้รับผิดชอบบริหารงาน 3. มีรองผู้ว่าราชการจำนวน 4 คน 4. มีปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นผู้รับผิดชอบ บังคับบัญชาดูแลงานประจำ

19 ผู้ว่าราชการ กทม. สภา กทม. ฝ่ายบริหาร ฝ่ายนิติบัญญัติ รองผู้ว่าฯ
ประชาชน(เลือกตั้ง) ผู้ว่าราชการ กทม. ฝ่ายบริหาร สภา กทม. ฝ่ายนิติบัญญัติ รองผู้ว่าฯ ปลัด กทม. สำนักงาน ต่าง ๆ สำนักงาน เขต สภาเขต 8 7 7

20 เมืองพัทยา 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารเมืองพัทยา พ.ศ.2521
2. มีปลัดเมืองพัทยา เป็นผู้บริหาร 3. สภาเมืองพัทยาประกอบด้วยสมาชิกจาก การเลือกตั้งและการแต่งตั้ง 4. การดำเนินงานคล้ายคลึงกับระบบผู้จัดการ

21 เมืองพัทยา ว่าจ้างโดย สัญญา แต่งตั้ง เลือกตั้ง รองปลัด กอง กอง
สภาเมืองพัทยา ปลัดเมืองพัทยา แต่งตั้ง เลือกตั้ง รองปลัด กอง กอง 8 7 7


ดาวน์โหลด ppt การบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google