งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข

2 ตัวอย่างแผนภาพการใช้อำนาจอธิปไตย
ประเทศไทย อำนาจอธิปไตย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจตุลาการ อำนาจบริหาร ศาล สภาผู้แทนราษฎร(ส.ส.) คณะรัฐมนตรี รัฐสภา บริหารประเทศ ตัดสินคดีความ วุฒิสภา(ส.ว. ) ออกกฎหมาย การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย

3 ศึกษาอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ
ศึกษาอำนาจนิติบัญญัติ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจนิติบัญญัติ ใครเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด (ประธานสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด และมีประธานวุฒิสภาเป็นรองประธานรัฐสภา) -อำนาจนิติบัญญัติมีอำนาจหน้าที่อย่างไร (ออกกฎหมายในการใช้บริหารปกครองประเทศ เช่น พระราชบัญญัติต่างๆ เป็นต้น) -ผู้ที่อยู่ในอำนาจนิติบัญญัติมีที่มาอย่างไร (มาจากการเลือกตั้งของประชาชนและประธานวุฒิสภาบางส่วนมาจากการสรรหาโดยได้รับโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งจากพระมหากษัตริย์)

4 ศึกษาอำนาจบริหาร อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ
ศึกษาอำนาจบริหาร อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจบริหาร ใครเป็นผู้มีอำนาจและบังคับบัญชาสูงสุด (มีนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้าคณะรัฐมนตรี) -มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไร (ทำหน้าที่บริหารพัฒนาประเทศตามที่ได้ แถลงนโยบายไว้ต่อรัฐสภา) -คณะรัฐมนตรีมีที่มาอย่างไร (มาจากการได้รับการเสนอชื่อ โดยพระมหากษัตริย์ ทรงลงพระปรมาภิไธย (ลงนาม) แต่งตั้ง โดยนายกรัฐมนตรีต้องมาจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร โดยความเห็นชอบของสภาผู้แทนราษฎรเป็นผู้เสนอชื่อ ส่วนคณะรัฐมนตรีเป็นอำนาจของ นายกรัฐมนตรีเป็นผู้นำเสนอรายชื่อทูลเกล้าฯให้พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย(ลงนาม) แต่งตั้ง)

5 ศึกษาอำนาจตุลาการ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ
ศึกษาอำนาจตุลาการ อำนาจ หน้าที่ ความรับผิดชอบ คำถาม -อำนาจตุลาการใครเป็นผู้บังคับบัญ­ชาสูงสุด (ประธานศาลฎีกา) -มีอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบอย่างไร (พิจารณาตัดสินคดีความ ให้ความยุติธรรมเพื่อความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง) -คณะกรรมการตุลาการมีที่มาอย่างไร (มาจากข้าราชการตุลาการศาลที่พระมหากษัตริย์ทรงลงพระปรมาภิไธย (ลงนาม)แต่งตั้ง) -อำนาจทั้งสามฝ่าย ใครเป็นผู้มีอำนาจสูงสุด (พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราชอำนาจสูงสุด โดยใช้อำนาจผ่านรัฐสภา คณะรัฐมนตรีและตุลาการศาล โดยทรงเป็นผู้ลง พระปรมาภิไธย(ลงนาม) แต่งตั้งอำนาจทั้ง 3 ฝ่าย ให้เป็นผู้มีอำนาจรับผิดชอบแทนพระองค์ในการบริหารและรับผิดชอบตามที่ได้รับมอบหมายจากพระมหากษัตริย์)

6 สรุปความสำคัญของการแบ่งอำนาจอธิปไตย
เพื่อบำบัดทุกข์บำรุงสุขให้แก่ประชาชนประชาชน เพื่อถ่วงดุลอำนาจกัน ป้องกันการรวมอำนาจ ความสำคัญ ของการแบ่งอำนาจ ออกเป็น 3 ฝ่าย ช่วยให้เกิดความยุติธรรม ในการปกครองประเทศ ทำให้ประเทศเกิดการพัฒนา เพื่อแบ่งเบาภาระของ พระมหากษัตริย์ มีอิสระในการบริหารและ หน้าที่แยกออกจากกัน

7 คืออำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศไทย
อำนาจอธิปไตย คืออำนาจสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศไทย


ดาวน์โหลด ppt อำนาจอธิปไตย อธิปไตยเป็นอำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศประกอบด้วย อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร และอำนาจตุลาการ ใช้ในการบริหารการปกครองประเทศตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google