งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล
“ผู้หญิงในวิกฤตมหันตอุทกภัย" วันอังคารที่ 29 พฤศจิกายน เวลา – น. ณ ห้องประชุม ชั้น 2 ศูนย์สตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล (รักษาการ) ผู้ประสานงานเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมประเทศไทย

2 ผู้หญิง หลากหลาย ทุกระดับชั้น

3

4 วัดราชบูรณะ จ. พิษณุโลก 5 กย. 54 วัดพระธรรมกาย 22 พย. 54 หลวงแม่ธรรมนันทานำคณะภิกษุณีสงฆ์ลอกท่อระบายน้ำและทำความสะอาดบริเวณหน้าวัตรรอรับฤดูน้ำ

5 ผู้หญิง วิกฤต มหันตอุทกภัย

6 วิกฤติ "ภาวะผู้นำ" ของผู้หญิงที่เป็นผู้นำประเทศ(นายกรัฐมนตรี)ในวิกฤต มหันตอุทกภัย
วิกฤติของผู้หญิง “ต่างจังหวัด” และ "กรุงเทพ" ในวิกฤตมหันตอุทกภัย วิกฤติ "มิติหญิงชาย" ในการจัดการ "วิกฤตมหันตอุทกภัย"-สิ่งที่ขาดหายและถูกหลงลืม (ตามเคย)! ข้อสังเกตบางประการต่อ “บทบาทผู้หญิง" ในการฝ่าวิกฤตมหันตอุทกภัย 5. ข้อเสนอแนะการสร้างกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม

7 น้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ปี 2554

8 1 วิกฤติ "ภาวะผู้นำ" ของผู้หญิงที่เป็นผู้นำประเทศ(นายกรัฐมนตรี)ในวิกฤต มหันตอุทกภัย

9 บางระกำโมเดล

10 นายกรัฐมนตรี สั่งการทุกหน่วยงานทำงานร่วมกันอย่างบูรณาการในการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ถูกน้ำท่วมโดยให้อำเภอบางระกำเป็นพื้นที่นำร่อง วันนี้ (28 ส.ค.) ที่ว่าการอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี พร้อมคณะ เช่น รมว.เกษตรและสหกรณ์, รมว.มหาดไทย รมต.ประจำสำนักนายกฯ และอธิบดีกรมชลประทาน ฯลฯ ได้เดินทางตรวจความคืบหน้าของโครงการ "บางระกำโมเดล” ท่ามกลางกลุ่มแม่บ้าน และประชาชนชาวบางระกำ มายืนรอให้การต้อนรับก่อนเข้าประชุมที่ "ศูนย์ปฏิบัติการป้องกันช่วยเหลือฟื้นฟูปัญหาอุทกภัยบางระกำ”

11 นครสวรรค์ (ล่ม)

12 ประตูระบายน้ำบางโฉมศรี
สิงห์บุรี ประตูระบายน้ำบางโฉมศรี

13 อยุธยายศล่มแล้ว ลอยสวรรค์ ลงฤา

14 นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ อยุธยา
                                                 น้ำท่วม Handa อยุธยา นิคมอุตสาหกรรมโรจนะ อยุธยา

15                                                  น้ำท่วม Handa อยุธยา นิคมอุตสาหกรรม ไฮเทค

16 น้ำเหนือจากอยุธยาบ่าท่วม
                                                 น้ำท่วม Handa อยุธยา ปทุมธานี น้ำเหนือจากอยุธยาบ่าท่วม

17                                                  น้ำท่วม Handa อยุธยา 19ต.ค.2554 ม.ร.ว.สุขุมพันธุ์ บริพัฒน์ ผู้ว่ากทม.ฯ ประชุมกับศูนย์ปฎิบัติช่วยเหลือผู้ประภัยน้ำท่วม (ศปภ.) ถึงมาตรการรับมือสถานการณ์ในส่วนของกทม. นิคมอุตสาหกรรมนวนคร

18 วิกฤติ “ภาวะผู้นำ”

19 นายกรัฐมนตรี จอมพล ป. พิบูลสงคราม น้ำท่วมใหญ่ เมื่อปี 2485

20 นายกรัฐมนตรี นายบรรหาร ศิลปอาชา น้ำท่วมใหญ่ เมื่อปี 2538

21 นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร
นายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร น้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ปี 2554

22 January 14, 2011 : The recent heavy rain over SE QLD has caused flooding in northern NSW, especially along rivers with headwaters in the NSW Northern Tablelands. The coastal flowing Clarence River and westerly flowing Macintyre River experienced major flooding.

23 นายกรัฐมนตรี น้ำท่วม ประเทศออสเตรเลีย ปี 2554 Ms Julia Gillard
Do the PM's tears show the real Julia Gillard? Before yesterday's performance, Gillard had been the target of suggestions that she was wooden, needed to be more sympathetic and should take acting lessons. Gillard has rejected the criticisms, arguing she is more about substance than style. And the suggestion of taking up acting lessons to create a faux sympathy would only make things worse. The style "problem" for Gillard is that her leadership and public popularity were built on her parliamentary performance, and the image of her that was created in the public mind is divorced from her outside the parliament. The public disappointment with her during last year's election campaign was not just a matter of there being a "real Julia and a fake Julia"; the fall in popularity was because the Julia the public was seeing was not the one they were familiar with. น้ำท่วม ประเทศออสเตรเลีย ปี 2554 นายกรัฐมนตรี Ms Julia Gillard Prime Minister Julia Gillard holds back tears as she pays tribute to flood victims. Picture: Gary Ramage Source: The Daily Telegraph : February 09, 2011 Some MPs, Labor and Liberal, openly cried.

24 น้ำตา...นายกรัฐมนตรี ภาวะผู้นำ?

25 แต่ไม่เป็นประเด็น “ภาวะผู้นำ” !
                                                 น้ำท่วม Handa อยุธยา ผู้ชาย (ก็)ร้องไห้ แต่ไม่เป็นประเด็น “ภาวะผู้นำ” !

26 วิกฤติของผู้หญิง “ต่างจังหวัด” และ "กรุงเทพ" ในวิกฤต มหันตอุทกภัย
2 วิกฤติของผู้หญิง “ต่างจังหวัด” และ "กรุงเทพ" ในวิกฤต มหันตอุทกภัย ผู้หญิงที่มีเสียงดัง ผู้หญิงกรุงเทพ-ผู้หญิงทำงาน แรงงานหญิง ผู้หญิง “ต่างจังหวัด-ชาวบ้าน-ชาวชุมชน

27 ผู้หญิงที่มีเสียงดัง

28 นางทศสิริ พูลนวล ชาว จ.นนทบุรี
ผู้หญิงกรุงเทพ-ผู้หญิงทำงาน นางทศสิริ พูลนวล ชาว จ.นนทบุรี

29 วิกฤตหนัก "น้ำท่วม" แรงงานดิ่งตกงานสูงเกือบ 4 แสนคน
แรงงานหญิง วิกฤตหนัก "น้ำท่วม" แรงงานดิ่งตกงานสูงเกือบ 4 แสนคน 3 จังหวัดพื้นที่ประสบอุทกภัย ประกอบด้วยอยุธยา ปทุมธานี และนนทบุรี พุ่งเฉียดเกือบ 4 แสนคน เหมือนแพร ศรีสุวรรณ ศูนย์ข่าว TCIJ

30 จังหวัดอยุธยา มี16 อำเภอได้รับผลกระทบจากอุทกภัยครั้งนี้  โดยมีแรงงานที่ได้รับผลกระทบทั้งสิ้น 153,298 คน   จากสถานประกอบการณ์ทั้งหมด 2,153 แห่ง จังหวัดปทุมธานี มี 7 อำเภอ มีสถานประกอบการณ์ทั้งสิ้น 3,120 แห่ง มีแรงงานได้รับผลกระทบ จำนวน 122,592 คน จังหวัดนนทบุรี มีผู้ใช้แรงงานและสถานประกอบการมากถึง 2,240แห่ง  มีแรงงานได้รับผลกระทบจำนวน 71,237 คน    จังหวัดนนทบุรี มีผู้ใช้แรงงานและสถานประกอบการมากถึง 2,240แห่ง  มีแรงงานได้รับผลกระทบจำนวน 71,237 คน   

31 ในปี 2553 คนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทางานทั่วราชอาณาจักร ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2553
รวมทั้งสิ้นจานวน 1,335,155 คน จำแนกประเภท: คนต่างด้าวตามมติ ครม. 3 สัญชาติ (พม่า ลาวและกัมพูชา) ได้รับอนุญาตฯ จานวน 932,255 คน คิดเป็นร้อยละ 69.82 ประเภทพิสูจน์สัญชาติ จานวน 228,411 คน คิดเป็นร้อยละ 17.11 ประเภททั่วไป จานวน 70,449 คน คิดเป็นร้อยละ 5.28 ประเภทนำเข้า จานวน 43,032 คน คิดเป็น ร้อยละ 3.22 ประเภท ชนกลุ่มน้อย จานวน 23,340 คน คิดเป็นร้อยละ 1.75 ประเภทส่งเสริมการลงทุน จานวน 23,245 คน คิดเป็น ร้อยละ 1.74 ประเภทตลอดชีพ จานวน 14,423 คน คิดเป็นร้อยละ 1.75 ของคนต่างด้าวที่ได้รับอนุญาตทางานทั่วราชอาณาจักร

32 ผู้หญิงชาวบ้าน-ชาวชุมชน
เกษตรกรได้รับผลกระทบ 1,464,790 ราย มีพื้นที่เสียหาย 11,429,901 ไร่ ส่วนใหญ่เป็นพื้นทีปลูกข้าว 9,180,657 ไร่ แต่ความเสียหายโดยรวมของภาคเกษตรมีผลทำให้จีดีพีลดลง 28,927 ล้านบาท และทำให้รายได้ภาคเกษตรหายไป 44,584 ล้านบาท ที่มา: สภาพัฒน์ฯ

33 3 วิกฤติ "มิติหญิงชาย" ในการจัดการ "วิกฤตมหันตอุทกภัย"-สิ่งที่ขาดหายและถูกหลงลืม (ตามเคย)!

34 รัฐไม่มีมาตรการที่จะ “ปกป้องคุ้มครอง” คนกลุ่มเปราะบางเหล่านี้
ผู้หญิง (รวมทั้ง เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส) จัดอยู่ในกลุ่มเปราะบางที่ได้รับผลกระทบอย่างมากจากภาวะภัยพิบัติ รัฐไม่มีมาตรการที่จะ “ปกป้องคุ้มครอง” คนกลุ่มเปราะบางเหล่านี้ ไม่มีมาตรการป้องกันการเลือกปฏิบัติอันเนื่องมาจากความแตกต่างเนื่องจากเพศ (gender sensitive) ไม่มีการสร้างหลักประกันว่าสิทธิของผู้หญิงจะได้รับการเคารพ ไม่มีการคำนึงถึงและไม่ได้ให้ความสำคัญในอันดับต้นๆต่อความจำเป็นขั้นพื้นฐานของผู้หญิงและกลุ่มเปราะบาง ไม่มีมาตรการหรือกลไกที่จะปกป้องคุ้มครองผู้หญิงจากการถูกเลือกปฏิบัติและถูกเอาเปรียบทางเพศในสถานการณ์วิกฤติ องค์กรภาคประชาสังคมที่ทำงานด้านสตรี และ เด็กไม่มีส่วนร่วมในระดับการตัดสินใจสำคัญๆ ในเรื่องการจัดการพิบัติภัย การอพยพ การจัดการศูนย์พักพิง

35 4 “บทบาทผู้หญิง" ในพื้นที่สาธารณะ ข้อสังเกตบางประการต่อ “บทบาทผู้หญิง"
ต่อวิกฤตมหันตอุทกภัย ปี 2554 มีมากขึ้นและเด่นชัดขึ้น 4 ข้อสังเกตบางประการต่อ “บทบาทผู้หญิง" ในการฝ่าวิกฤตมหันตอุทกภัย

36 บทวิจารณ์ภาวะผู้นำของ "หนูดี" และ "เอิร์น“
การจุดประเด็นของ กป.อพช. เรื่อง “ชุมชนจัดการตนเอง” การริเริ่มโครงการ "ถอดบทเรียน-การฝ่าวิกฤติน้ำท่วมของผู้นำชุมชนสตรี" ของ มูลนิธิเพื่อนหญิง มูลนิธิชุมชนไท UN Women และเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมฯ การเชื่อมประสานกับเครือข่ายภาคประชาชนของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ

37 รัฐบาลควรยอมรับ ให้ความเคารพ และสนับสนุนการที่ประชาชนในชุมชนที่ประสบปัญหารวมตัวกัน ร่วมกันตัดสินใจเพื่อแก้ปัญหา ให้รัฐสนับสนุนการจัดตั้งศูนย์พักพิงในพื้นที่ของชุมชน และดำเนินการโดยชุมชน เพื่อจัดการชุมชนของตนเอง ให้รัฐสนับสนุนสิ่งจำเป็นในการดำเนินงานศูนย์พักพิงของชุมชน อันได้แก่ ข้าวสาร อาหารแห้ง น้ำดื่มสะอาด ยารักษาโรค หน่วยตรวจสุขภาพและการรักษาพยาบาลเคลื่อนที่ เครื่องปั่นไฟพร้อมน้ำมัน เสื้อชูชีพ เรือติดเครื่องยนต์พร้อมน้ำมัน

38 บทวิจารณ์ภาวะผู้นำของ "หนูดี" และ "เอิร์น“
การจุดประเด็นของ กป.อพช. เรื่อง “ชุมชนจัดการตนเอง” การริเริ่มโครงการ "ถอดบทเรียน-การฝ่าวิกฤติน้ำท่วมของผู้นำชุมชนสตรี" ของ มูลนิธิเพื่อนหญิง มูลนิธิชุมชนไท UN Women และเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมฯ การเชื่อมประสานกับเครือข่ายภาคประชาชนของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ

39

40

41 บทวิจารณ์ภาวะผู้นำของ "หนูดี" และ "เอิร์น“
การจุดประเด็นของ กป.อพช. เรื่อง “ชุมชนจัดการตนเอง” การริเริ่มโครงการ "ถอดบทเรียน-การฝ่าวิกฤติน้ำท่วมของผู้นำชุมชนสตรี" ของ มูลนิธิเพื่อนหญิง มูลนิธิชุมชนไท UN Women และเครือข่ายผู้หญิงพลิกโฉมฯ การเชื่อมประสานกับเครือข่ายภาคประชาชนของกระทรวงพัฒนาสังคมฯ

42 5 “ข้อเสนอแนะ” การบูรณาการ "มิติหญิงชาย" และ "บทบาทหญิงชาย" ให้เป็นกระแสหลักของการบริหารจัดการภัยพิบัติธรรมชาติและการบริหารจัดการ

43 “ข้อเสนอแนะ 10 ประการ” การบูรณาการ "มิติหญิงชาย" และ "บทบาทหญิงชาย" ให้เป็นกระแสหลักของการบริหารจัดการภัยพิบัติธรรมชาติและการบริหารจัดการ ผู้หญิงที่เป็นหัวหน้าครัวเรือน (หรือต้องแบกรับภาระในครอบครัว) ควรได้รับสิทธิ์ในอันดับต้นๆ ในการได้รับการช่วยเหลือ อพยพ การเข้าศูนย์พักพิง หรือการดูแลเอาใจใส่ การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัย ต้องคำนึงถึง “มิติหญิงชาย” ในเรื่องต่างๆ เช่น การจัดสรรสิ่งจำเป็น การจัดการสิ่งแวดล้อม การให้บริการด้านสุขอนามัย ชีวอนามัย และความจำเป็นพื้นฐานที่แตกต่างกันของหญิง ชาย และความหลากหลายทางเพศ อาหารเฉพาะกลุ่ม เช่น นมสำหรับเด็กเล็ก อาหารเด็ก คนแก่ หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วย ผู้พิการ จะต้องจัดสรร/จัดหาให้อย่างเพียงพอ

44 4. ต้องมีบริการด้านการแพทย์อย่างทั่วถึงและเพียงพอต่อผู้หญิง และ กลุ่มเปราะบางในภาวะประสบภัย
5. ต้องมีกลไกการแจ้งและรายงานในเรื่องการถูกกระทำความรุนแรงหรือถูกล่วงละเมิดทางเพศในภาวะภัยพิบัติต่อผู้หญิงและกลุ่มเปราะบาง ต้องมีผู้แทนจากองค์กรสตรีและผู้นำสตรีจากชุมชนที่ประสบภัยร่วมอยู่ในคณะกรรมการที่มีอำนาจหน้าที่ในระดับการตัดสินใจสำคัญๆ ต่อการออกมาตรการช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าผู้หญิงจะสามารถเข้าถึงการช่วยเหลือได้อย่างทั่วถึง เหมาะสม และเป็นธรรม และต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 33% ของจำนวนกรรมการทั้งหมด ความเป็นส่วนตัว ความจำเป็นเฉพาะของผู้หญิงควรได้รับการพิจารณาในอันดับต้นๆ ในการจัดการศูนย์พักพิง ศูนย์อพยพ หรือการให้ความช่วยเหลือเยียวยา

45 8. ผู้หญิงที่เป็นแรงงานนอกระบบ หรือที่นำงานมาทำที่บ้าน และเป็นผู้ประสบภัยควรได้รับการพิจารณาช่วยเหลือในเรื่องเศรษฐกิจ เครื่องมือทำกิน และการส่งเสริม/ชดเชยรายได้อย่างเป็นรูปธรรม 9. เด็กหญิงและเยาวชนหญิงที่ประสบภัยจะต้องได้รับการคุ้มครองทั้งด้านสุขภาพ อนามัย และการศึกษาในภาวะประสบภัย 10. สื่อควรให้ความสำคัญกับปัญหาความยากลำบากผู้หญิงและกลุ่มเปราะบางเมื่อเผชิญกับภาวะพิบัติภัยและการรายงานข่าวในเรื่องที่อ่อนไหวและอาจละเมิดความเป็นส่วนตัว การล่วงละเมิดทางเพศ การละเมิดสิทธิ และการถูกเลือกปฏิบัติต่อผู้หญิงและเด็ก และกลุ่มเปราะบาง จะต้องให้ความสำคัญเป็นอันดับต้นๆ และควรจะระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง

46 ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt ดร. สุธาดา เมฆรุ่งเรืองกุล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google