งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม 29 กันยายน 2551

2 หัวข้อสนทนา 1) อุตสาหกรรมยานยนต์กับระบบเศรษฐกิจไทย
1) อุตสาหกรรมยานยนต์กับระบบเศรษฐกิจไทย 2) ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย 3) นโยบายเขตการค้าเสรี 4) นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์

3 อุตสาหกรรมยานยนต์กับ
ระบบเศรษฐกิจไทย

4 อุตสาหกรรมยานยนต์สร้างมูลค่า ร้อยละ 5 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
อุตสาหกรรมรถยนต์สร้างมูลค่าเพิ่มสูงต่อระบบเศรษฐกิจของไทย 573,000 ล้านบาท 712,000 ล้านบาท ล้านบาท (ในรูปของภาษีที่จัดเก็บได้) 2549 2550

5 อุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญ ต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การบริโภค (Consumption) ตลาดภายในประเทศประมาณ 700,000 คันต่อปี (2550) ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคอาเซียน ใหญ่เป็นอันดับ 4 ในทวีปเอเซีย รองจากญี่ปุ่น จีน อินเดีย และเกาหลีใต้ สัดส่วนรถยนต์ต่อจำนวนประชากรของไทยยังอยู่ในระดับต่ำ (รถยนต์ 1 คันต่อประชากร 10 คน) จำนวนรถยนต์ต่อ ประชากร 1,000 คน ไทย คัน ญี่ปุ่น คัน สหรัฐ คัน ตลาดภายในประเทศมีศักยภาพในการเติบโต

6 อุตสาหกรรมยานยนต์ปัจจัยสำคัญ ต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
การลงทุน (Investment) ในปี 2007 มูลค่าการลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์ประมาณ ร้อยละ 16 ของการลงทุนทั้งหมด จำนวนโครงการ มูลค่าการลงทุน พันล้านบาท จำนวน มูลค่ารวม 373.20 744.50 ยานยนต์ 55.30 120.10

7 การลงทุนในยานยนต์ ปี 2007 - 2008
การลงทุน 2007 Tata Motor Auto Alliance Honda (Eco Car) Siam-Nissan (Eco Car) Thai Bridgestone Tokai Eastern Rubber General Motors Dongwon Tire Mold Sumitomo Rubber Young Tech KLT Automotive…. การลงทุน 2008 โครงการ Eco car จะก่อให้เกิดมูลค่าเงินลงทุนทั้งระบบ (รวมชิ้นส่วนยานยนต์) ประมาณ 200,000 ล้านบาท Mitsubishi, Suzuki, Toyota, Tata (Eco Car) ชิ้นส่วนยานยนต์

8 มูลค่าการส่งออกสูงสุด เป็นอันดับ 2
มูลค่าการส่งออกสูงสุดเป็นอันดับ 2 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 8 ของมูลค่าการส่งออกโดยรวม อัตราการขยายตัวของการส่งออกเฉลี่ยประมาณร้อยละ 30 ต่อปี มูลค่านำเข้าในปี 2551 (ม.ค.-ส.ค.) = 2,715 ล้านเหรียญสหรัฐ รายการ 2547 2548 2549 2550 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 1 เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 9,185.45 11,848.66 14,869.39 17,299.49 12,329.94 2 รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 5,495.24 7,745.44 9,524.19 12,035.76 9,596.66 3 น้ำมันสำเร็จรูป 1,763.54 2,352.11 3,648.86 4,097.09 5,915.16 4 อัญมณีและเครื่องประดับ 2,645.59 3,232.66 3,668.29 5,381.68 4,958.58 5 ยางพารา 3,428.64 3,709.99 5,396.59 5,639.98 4,768.78 6 ข้าว 2,693.00 2,328.96 2,583.04 3,467.43 4,656.38 7 แผงวงจรไฟฟ้า 4,902.78 5,950.64 7,029.98 8,053.06 4,500.64 8 เม็ดพลาสติก 3,104.60 4,198.45 4,498.43 5,212.30 4,058.33 9 เหล็ก เหล็กกล้าและผลิตภัณฑ์ 2,477.84 2,895.63 3,528.61 4,570.12 3,486.65 10 ผลิตภัณฑ์ยาง 1,943.68 2,351.20 3,082.00 3,652.43 3,083.88 มูลค่า : ล้านเหรียญสหรัฐฯ ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์

9 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยก้าวสู่ Export Oriented Country
สัดส่วนการส่งออกรถยนต์ ปี 2550 (ตามมูลค่า) ชิ้นส่วนยานยนต์ส่งออกสำคัญ เพลาส่งกำลังและข้อเหวี่ยง ชุดสายไฟรถยนต์ เครื่องยนต์สันดาปายใน ยาง หม้อแบตเตอรี่และส่วนประกอบ กระจกนิรภัยและกระจกรถยนต์ ปี 2550 ส่งออก 144,000 ล้านบาท

10 สร้างมูลค่าเพิ่มภายในประเทศ (Local Value Added)
ปี 2008 (มกราคม-กรกฎาคม) ปริมาณการผลิต (คัน) Value Added จักรยานยนต์ (CBU) 1,176,000 90-95% รถปิกอัพ 590,000 70-80% รถยนต์นั่ง 239,000 30-70% ราคาหน้าโรงงาน(บาท) 22,000 320,000 400,000 Value Added 92.5% 75% 50% มูลค่าเพิ่มภายใน ประเทศ(บาท) 20,350 240,000 200,000 เทียบเท่าการ ผลิตข้าว (ตัน) 2.2 27.0 22.5 ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปีที่เกษตรกร ขายได้เฉลี่ยของปี 2550 = 8,900 บาทต่อเกวียน

11 เกิดการจ้างงานในประเทศ
Long Supply Chain R & D สถาบันการศึกษาอุตสาหกรรมแม่พิมพ์ Raw Materials อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์พลาสติก อุตสาหกรรมไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ อุตสาหกรรมยาง ฯลฯ Part Manufactures 1st Tier 648 ราย 2nd & 3rd Tier 1,641 ราย Assembler รถยนต์ 17 ราย รถจักรยานยนต์ 7 ราย เกิดการจ้างงานในประเทศ (ทางตรงและทางอ้อม) จำนวนมาก

12 ความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

13 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย Auto Clusters Manufacturer Brand Total (Units) Thai Honda Manufacturing Co., Ltd. HONDA 1,400,000 Thai Suzuki Motor Co., Ltd. SUZUKI 550,000 Thai Yamaha Motor Co., Ltd. YAMAHA 450,000 Kawasaki Motors Enterprise (Thailand) Co., Ltd. KAWASAKI 200,000 Millennium Motor Co., Ltd. TIGER 60,000 J.R.D. (Thailand) Co., Ltd. JRD 144,000 Total 2,804,000

14 กำลังการผลิตขยายเป็น 2.5 ล้านคัน ในปี 2557
Capacity 2,500,000 Units 2,500,000 PU & Commercial 46% 2,000,000 Capacity 1,647,710 Units ECO Cars 1,500,000 PU & Commercial 69% PC 54% 1,000,000 PC 31% 2551 2557

15 ภาพรวม อุตสาหกรรมรถยนต์
ม.ค.-ก.ค. 2551 Quantity (Units) Change (%) Production 841,186 19 Domes. Sales 365,036 6 Export 457,102 25

16 ภาพรวม อุตสาหกรรมรถจักรยานยนต์
ม.ค.-ก.ค. 2551 Quantity (Units) Change (%) Production 1,110,249 13 Domes. Sales 1,033,001 5 Export 913,534 - 13

17 ชิ้นส่วนยานยนต์ ที่มีมาตรฐานสากลเป็นที่ยอมรับ
Engines Diesels, Motorcycles Engines Components Starters, Alternators, Filters, Hoses, Gears, Flywheels Body Parts Chassis, Bumpers, Fenders, Hoods, Door Panels Brake Systems Master Cylinders, Drums, Discs, Pads, Linings Steering Systems Steering Wheels, Gears, Columns, Pumps, Linkages Suspensions Shocks, Coils, Ball Joints Transmissions Gears, Casting, Rear Axles, Drive Shafts, Propeller Shafts Electrical/Electronics Alternators, Starters, Speedometers, Lamps, Motors, Flashers Relays Interiors/Exteriors Seats, Mats, Weather Strips, Console Boxes Others Windshields, Seat Belts, Radiators, Wheels, Compressors

18 World Production 2007 UNIT No. 14 1,287,346

19 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ก้าวสู่การผลิตระดับโลก
Rank Country Passenger Car Commercial Veh. Total % change 53,049,391 20,103,305 73,152,696 5.70% 1 Japan 9,944,637 1,651,690 11,596,327 1.00% 2 USA 3,924,268 6,856,461 10,780,729 -4.50% 3 China 6,381,116 2,501,340 8,882,456 22.00% 4 Germany 5,709,139 504,321 6,213,460 6.80% 5 South Korea 3,723,482 362,826 4,086,308 6.40% 6 France 2,550,869 464,985 3,015,854 -4.80% 7 Brazil 2,388,402 582,416 2,970,818 13.80% 8 Spain 2,195,780 693,923 2,889,703 4.00% 9 Canada 1,342,133 1,236,105 2,578,238 0.30% 10 India 1,707,839 598,929 2,306,768 14.40% 11 Mexico 1,209,097 886,148 2,095,245 2.40% 12 UK 1,534,567 215,686 1,750,253 6.10% 13 Russia 1,288,652 371,468 1,660,120 10.40% 14 Thailand 315,444 971,902 1,287,346 7.80% 15 Italy 910,860 373,452 1,284,312 6.00% 16 Turkey 634,883 464,531 1,099,414 11.30% 17 Iran 882,000 115,240 997,240 10.30% 18 Czech Rep. 925,778 12,749 938,527 9.80% 19 Belgium 789,674 44,729 834,403 -9.10% 20 Poland 695,000 89,700 784,700 21 Others 429,430 168,466 597,896 12.50% 22 Slovakia 571,071 93.30% 23 Argentina 350,735 193,912 544,647 26.00% 24 South Africa 276,018 258,472 534,490 25 Malaysia 347,971 93,690 441,661 -12.20% 1,577,449 230,594 1,808,043

20 ขีดความสามารถในการแข่งขัน อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
อันดับ ประเทศ 1 Japan 2 USA 3 China 4 Germany 5 South Korea 6 France 7 Brazil 8 Spain 9 Canada 10 India 11 Mexico 12 UK 13 Russia 14 Thailand 15 Italy ศักยภาพโดยรวม ประเทศพัฒนาแล้ว (G8) BRICs ประเทศพัฒนาแล้ว ประเทศกำลังพัฒนา BRICs , G8 ตลาดรถยนต์ในประเทศ 1.00% -4.50% 22.00% 6.80% 6.40% -4.80% 13.80% 4.00% 0.30% 14.40% 2.40% 6.10% 10.40% 7.80% 6.00% ตลาดโลกเฉลี่ย 5.7% (2007)

21 ขีดความสามารถในการแข่งขัน (2) อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
อันดับ ประเทศ 1 Japan 2 USA 3 China 4 Germany 5 South Korea 6 France 7 Brazil 8 Spain 9 Canada 10 India 11 Mexico 12 UK 13 Russia 14 Thailand 15 Italy เจ้าของแบรนด์รถยนต์  (ชาตินิยม)   ภาษีนำเข้ารถยนต์ CBU  0%  3 – 25% 25 – 42%  10 – 22% (EU) 8 – 10%  10 – 22% (EU) 35% 10 – 22% (EU)  6.1%  16 – 100%  20% 25%  30 – 80%

22 ขีดความสามารถในการแข่งขัน (3) อุตสาหกรรมยานยนต์ไทย
อันดับ ประเทศ 1 Japan 2 USA 3 China 4 Germany 5 South Korea 6 France 7 Brazil 8 Spain 9 Canada 10 India 11 Mexico 12 UK 13 Russia 14 Thailand 15 Italy นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรม ย้าย  อาเซียน ย้าย  แคนาดา สร้างฐานการผลิต ย้าย  ยุโรปตะวันออก ย้าย  จีน อินเดีย ผลิตรถยนต์ลักษณะเฉพาะ เป็นฐานการผลิตของอเมริกา เป็นฐานการผลิตของ NAFTA ย้ายฐาน/ขายแบรนด์

23 นโยบายเขตการค้าเสรี

24 Free Trade Agreement ของไทยในปัจจุบัน
Current FTA In Process FTA Thailand-Australia FTA (Since January 2005) ASEAN-India FTA ASEAN-China FTA (Since July 2005) Thailand-US FTA Thailand-New Zealand FTA (Since July 2005) Thailand-Peru FTA BIMSTEC FTA (Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation) Thailand-India FTA (Since September 2006) Japanese Thailand Economic Partnership Agreement (Starting November 2007) ASEAN-Korea FTA

25 ประโยชน์ของเขตการค้าเสรี ต่ออุตสาหกรรมยานยนต์
การรวมเป็นตลาดเดียว (Single Market) ทำให้เกิดตลาดที่มีผู้บริโภคจำนวนมากขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อันเนื่องจาก การผลิตที่ระดับประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale)

26 รวมจำนวนประชากรรวม 3,000 ล้านคน China: Pop. 1.3 billion
Early Harvest :China-Thailand 2006 Thai exports: 445,978 million baht Japan: Pop. 128 million Japan-Thailand Economic Partnership Agreement India: Pop.1.1 billion Early Harvest Agreement 2006 Thai exports: 68,716.6 million baht ASEAN:Pop. 550 million AFTA 2006 Thai exports: 1,029,180 million baht Australia: 20 million TAFTA 2006 Thai exports 192,893.9 million baht New Zealand: Pop. 4 million Closer Economic Partnership 2006 Thai exports: 19,946.8 million baht

27 ประโยชน์ของเขตการค้าเสรี ต่ออุตสาหกรรมยานยนต์
การรวมเป็นตลาดเดียว (Single Market) ทำให้เกิดตลาดที่มีผู้บริโภคจำนวนมากขึ้น เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน อันเนื่องจาก การผลิตที่ระดับประหยัดต่อขนาด (Economy of Scale) เป็นแนวทางหนึ่งในการดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ โครงการความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาอุตสาหกรรม เช่น โครงการ AHRDP

28 อุตสาหกรรมยานยนต์ เมื่อไร้กำแพงภาษี
เมื่อไร? การลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ภายใต้ AFTA ในปี 2553 (2010) การเปิดเสรีการค้าและการลงทุนของประเทศพัฒนาภายใต้ APEC’s Bogor Goal ในปี 2553 (2010) ในขณะที่ประเทศกำลังพัฒนากำหนดจะเปิดเสรีภายในปี 2563 (2020) การจัดทำ Bilateral FTA ของประเทศต่างๆ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น (213 ฉบับ) การเจรจารอบโดฮา (Doha Round) ของ WTO ครั้งล่าสุดไม่ประสบความสำเร็จ เนื่องจากประเทศสมาชิกเห็นว่า ยังไม่มีความสมดุลระหว่างการเปิดตลาดสินค้าอุตสาหกรรมและเกษตร และยังมีการคงมาตรการที่บิดเบือนตลาด ประเทศพัฒนาแล้ว ลดภายใน 6 ปี ? ประเทศกำลังพัฒนา ลดภายใน 10 ปี

29 แนวคิดในการจัดทำ เขตการค้าเสรี
สร้างความพร้อมในการเป็นฐานการผลิต (Production Base) ภายในประเทศก่อนเปิดเสรีการค้า เลือกเปิดเสรีการค้ากับประเทศที่มีศักยภาพในการแข่งขันเท่าเทียมหรือต่ำกว่า กำหนดยุทธศาสตร์การเจรจาเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ เช่น การเปิดสินค้าอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพแลกกับสินค้าเกษตร การขจัดมาตรการกีดกันที่มิใช่ภาษี (NTB) ภายในประเทศของคู่เจรจา กฎแหล่งกำเนิดสินค้า (RoO concept) ไม่ควรซับซ้อนและ ไม่มีควรแตกต่างกันในแต่ละกรอบการค้า

30 นโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์

31 Liberalization & Promotion
เป้าหมายและแนวนโยบาย ของภาครัฐ Units Protection Liberalization & Promotion Globalization Abolished local content Tax Restructuring CKD from 20% to 33% Reduced excise tax rate Reduced tariff tax rate Repealing limitation of 42 series of passenger car assembly Repealing prohibition on import of all types of vehicles Tax Restructuring Investment promotion Tax reduction for export Repealing prohibition on establishing vehicle assembly factory Increased local content from 25%to 50% for passenger cars Limited 42 series for passenger car assembly Diesel engine was compulsory parts of pick up Increased local content 54% for PC 60-72% for PU 45% for Truck&Bus

32 เป้าหมายและแนวนโยบาย ของภาครัฐ
“การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ในเอเชีย สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มในประเทศไทย โดยมีอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ที่มีความแข็งแรง” วิสัยทัศน์ International Car การเป็นฐานการผลิตยานยนต์ระดับโลกใน 3 ผลิตภัณฑ์หลัก : PU 1 ตัน, MC คุณภาพ, ECO Car ชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศที่มีศักยภาพ เป้าหมาย /ทิศทาง กลยุทธ์ที่ การพัฒนามาตรฐาน และการวิจัย กลยุทธ์ที่ การยกระดับบุคลากร และผู้ประกอบการ กลยุทธ์ที่ การชี้ทิศทาง และสร้างโอกาส กลยุทธ์

33 “International Car” Policy
ให้ความเสรี เท่าเทียม และโปร่งใสแก่นักลงทุนทุกราย สร้างและจะรักษาไว้ซึ่งชื่อเสียงในการมีบรรยากาศทางธุรกิจที่เอื้อต่อการเป็นฐานการผลิตและส่งออกยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ มีความพร้อมทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน ทรัพยากรบุคคล มีฐานอุตสาหกรรมต้นน้ำ อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ และอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์ในประเทศ ที่เข้มแข็ง

34 กลยุทธ์ที่ 1 การชี้ทิศทางและสร้างโอกาส
การวางทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อรองรับพัฒนาการของเศรษฐกิจสังคมและวิถีชีวิตยุคใหม่ และสอดคล้องกับโลกในยุคปัจจุบัน รวมทั้งการสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการไทย โครงการรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล หรือ ECO Car 34

35 รถยนต์ ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล
A gile C lean E conomical รถยนต์ ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล “ ECO car ” with S afety

36 Eco-Car Project Quality Product compatible with environment, fuel economic and social , in line with global trend what Fuel consumption : < 5 litres per 100 km Car emissions : Euro 4 or higher, with CO2 emissions < 120 grams per km Safety : full front- and side-impact protection based on UNECE specifications 6 proposal from leading Auto-Manufacturers are approved

37 ผู้ผลิตรถยนต์ที่ได้รับ การอนุมัติจาก BOI
บริษัท เงินลงทุน (ล้านบาท) กำลังการผลิต (คันต่อปี) สัดส่วนการขาย (ในประเทศ : ส่งออก) 1. บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด 6,700 120,000 50 : 50 2. บริษัท ซูซูกิ มอเตอร์ คอร์ปอเรชั่น ประเทศญี่ปุ่น 9,500 138,000 19 : 81 3. บริษัท สยามนิสสัน ออโตโมบิล จำกัด 5,500 20 : 80 4. บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) จำกัด 7,731 107,000 12 : 88 5. บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด 6,642 100,000 6. บริษัท ทาทา มอเตอร์ ประเทศอินเดีย 7,317 48 : 52 รวมทั้งสิ้น 43,440 685,000 32 : 68

38 Eco Car ส่งผลดีต่อการพัฒนา ภาคอุตสาหกรรมและประชาชน
ยานยนต์ การขยายฐานการผลิตและส่งออกของไทยโดยการลงทุนเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ชนิดใหม่ การพัฒนามูลค่าเพิ่มในประเทศจากอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์นั่งให้ทัดเทียมอุตสาหกรรมรถยนต์ปิกอัพ การสร้างความยั่งยืนและเป็นการกระจายความเสี่ยงของอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย ชิ้นส่วนยานยนต์ ส่งผลต่อเนื่องให้เกิดการลงทุนผลิตและส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์จำนวนมาก (ทั้ง OEM และ REM) การขยายฐานการผลิตและส่งออกชิ้นส่วนของรถยนต์ประเภทใหม่ อุตสาหกรรมต่อเนื่อง การพัฒนาอุตสาหกรรมต้นน้ำและวัตถุดิบ เช่น เหล็กและเหล็กกล้า พลาสติก ยางสังเคราะห์ ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมสนับสนุน ได้แก่ แม่พิมพ์และดายน์ ประชาชน การชะลออัตราการเพิ่มขึ้นของ CO2 (สาเหตุสำคัญของปัญหาภาวะโลกร้อน) การกระตุ้นให้เกิดการพัฒนามาตรฐานความปลอดภัย การชะลอการสูญเสียของประเทศจากการนำเข้าเชื้อเพลิง

39 กลยุทธ์ที่ 1 การชี้ทิศทางและสร้างโอกาส
การวางทิศทางการพัฒนาที่ชัดเจน เพื่อรองรับพัฒนาการของเศรษฐกิจสังคมและวิถีชีวิตยุคใหม่ และสอดคล้องกับโลกในยุคปัจจุบัน รวมทั้งการสร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการไทย โครงการรถยนต์ประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล หรือ ECO Car การสร้างโอกาสทางการค้าโดยการขยายตลาดต่างประเทศ การส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ และเทคโนโลยี โดยเฉพาะด้านการ ประหยัดพลังงานและพลังงานทดแทน การเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และความปลอดภัย การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เช่น ITS 39

40 กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนามาตรฐานและการวิจัย
การส่งเสริมพัฒนาการด้านปัญญาให้กับอุตสาหกรรมที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมของไทย ประเทศไทยเข้าร่วมเป็นสมาชิกของ (Contracting parties) ของ UNECE WP.29, 1958 agreements เมื่อเดือนพฤษภาคม 2549 ดำเนินการออกมาตรฐานที่จำเป็น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสำหรับการทดสอบ 40

41 กลยุทธ์ที่ 3 การยกระดับบุคลากรและผู้ประกอบการ
การเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพ (Productivity) เพื่อยกระดับความสามารถของบุคลากรและผู้ประกอบการ HRD programs for new automotive investment LEAN Manufacturing or Toyota Production System (TPS) ISO/TS Standard Total Productive Maintenance (TPM) Electronic Data Interchange (EDI) Thailand Government Japanese Industries AHRDP - และโครงการพัฒนาบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ (AHRDP) 41

42 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ
เป้าหมายและวิสัยทัศน์ ภาครัฐ ภาคการศึกษา/ วิชาการ ภาคเอกชน

43 Industrial Policies Industrial Information Industrial Knowledge
For More Industrial information, please visit

44 ที่มา ดุสิต อนันตรักษ์
สืบค้นวันที่ 9 กันยายน 2552


ดาวน์โหลด ppt นโยบายอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google