งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สัดส่วนของการส่งออก/GDP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สัดส่วนของการส่งออก/GDP"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สัดส่วนของการส่งออก/GDP
พันล้านบาท 62.5% 59.6% 56.1% 53.7% 55.2% 56.2% ปี 38 ส่งออก 1,406,310 ล้านบาท ปี 48 ส่งออก 4,434, 676 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 3 เท่ากว่า การส่งอกของไทยคิดเป็น 62% ของ GDP ถ้ารวม การส่งออกด้านบริการ สัดส่วนเพิ่มเป็น 75 % (ถ้าคิด เป็น GNH เราอยู่ในลำดับที่ 32 ) ถ้าเทียบกับการค้าโลก มูลค่าของเราเป็นแค่ 1.1 % เท่านั้น การส่งออก----เกิดการผลิต การจ้างงาน รายได้ของเกษตรกร ที่มา : มูลค่าส่งออก - กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ โดยความร่วมมือของกรมศุลกากร GDP - สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2 ปลกล็อกอุปสรรคทางภาษี/ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน
เป็นกฎ กติกา การค้าสินค้า/บริการ รวมถึงการลงทุน และความร่วมมือ ระหว่าง 2 ประเทศ - อนุญาตให้มีการเข้าสู่ตลาด (เปิดตลาด) ได้ > WTO FTA คืออะไร ? ปลกล็อกอุปสรรคทางภาษี/ไม่ใช่ภาษี การอำนวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน ซื้อขายสินค้าและบริการที่มีความโดดเด่น และมีความได้เปรียบในการแข่งขัน (comparative advantage) มากขึ้น

3 ทำไมไทยต้องทำ FTA ? หากไทยทำ FTA ล่าช้า
การเจรจาภายใต้ WTO & RTA (AFTA) ค่อนข้างช้า เนื่องจากระดับความพร้อมต่างกัน ฉันทามติบรรลุผลได้ยาก สหรัฐฯ ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป เร่งขับเคลื่อนทำ FTA กับหลายประเทศ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับในตลาดหลัก (GSP) มีแนวโน้มลดลง (ระดับการพัฒนา ) คู่ค้า/คู่แข่งสำคัญของไทยได้ทำและกำลังเดินหน้าทำ FTA ระหว่างกัน หากไทยทำ FTA ล่าช้า มุ่งเน้นที่วิธีการ/กระบวนการ จัดทำ FTA ให้ก่อประโยชน์ จัดการความเสี่ยง/ผลกระทบ ให้ต่ำที่สุด กระทบ ตลาดส่งออกไม่ขยายตัว/หดตัว โครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศ ปรับตัวไม่ทันการเปลี่ยนแปลงของโลก

4 เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
FTA เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ FTA เป็นกลไกลทางเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศกลไกหนึ่ง ที่รัฐบาลนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการขยายเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ เพื่อ - เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับผู้กระกอบการภายในประเทศ โดยการรักษาความได้เปรียบเชิงภาษี ซึ่งปัจจุบันมีแนวโน้มลงลงเนื่องจากถูกตัด GSP และการทำ FTA ของประเทศต่าง ๆ มากขึ้น - การทำ FTA กับบางประเทศ จะช่วยให้ไทยมีวัตถุดิบที่มีความหลากหลาย และราคาถูก เป็นการลดต้นทุนการผลิต และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันสินค้าไทยในตลาดโลก ได้ - การทำ FTA ทำให้ไทยมีตลาดที่ใหญ่ขึ้น และจูงใจให้มีการลงทุนทั้งในด้านสินค้าและบริการมากขึ้น เพราะมองเห็นโอกาสในการขยายการส่งออกสินค้าและบริการไปตลาดต่างๆ ที่ไทยทำ FTA เพิ่มโอกาสในการส่งออก

5 ไทยทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า?
ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว ทำ FTA ไม่ได้หมายถึงเปิดตลาดพร้อมกันทุกสินค้า - กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน - กลุ่มที่ไม่พร้อม ชะลอการเปิด - ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อม ไทยเร่งทำ FTA เร็วเกินไปหรือเปล่า? ไทยและทุกประเทศไม่มีใครพร้อม 100% และไม่มีวันพร้อมถ้าไม่ลงไปเรียนรู้จากการเข้าไปทำจริง ซึ่งไทยมีความสามารถสูงในการปรับตัว ให้เข้ากับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป ถ้ารอให้พร้อม เมื่อไหร่คือพร้อม ธุรกิจโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและรวดเร็ว เร่งทำ FTA ไม่ได้หมายถึงเปิดพร้อมกันทุกหมวดสินค้า - กลุ่มที่พร้อมก็เปิดก่อน - กลุ่มที่ไม่พร้อมก็เก็บไว้ - อะไรง่ายทำก่อน อะไรยากทำทีหลัง - ปรับโครงสร้างการผลิต เตรียมความพร้อมกลุ่มที่ยาก

6 ไทยทำ FTA กับประเทศใดบ้าง
มีผลใช้บังคับแล้ว ไทย-ออสเตรเลีย (1 ม.ค. 2005) ไทย-นิวซีแลนด์ (1 ก.ค. 2005) อาเซียน-จีน (20 ก.ค. 2005) ไทย-อินเดีย 82 รายการ (1 ก.ย. 2004) เจรจาเสร็จแล้ว ไทย-ญี่ปุ่น (คาดว่าจะลงนาม ในต้นปี 2007) ปัจจุบันไทยได้มีการจัดทำ FTA กับ 6 ประเทศ และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ - โดยอยู่ระหว่างการเจรจากับ สหรัฐฯ บาห์เรน อินเดีย เปรู BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และ ภูฎาน) EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตร์) สำหรับประเทศที่เจรจาเสร็จแล้วและมีผลบังคับใช้ 4 ประเทศ : ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน และอินเดีย ส่วน FTA ไทย- ญี่ปุ่น ซึ่งเจรจาเสร็จแล้ว อยู่ระหว่างรอให้มีการลงนามประกาศความร่วมมือระหว่างนายกรัฐมนตรีของทั้ง 2 ประเทศ คาดว่าจะลงนามความตกลงประมาณ เดือนเมษายน2006 และมีผลบังคับใช้ 1ตค.2006

7 ไทยทำ FTA กับประเทศใดบ้าง (ต่อ)
อยู่ในระหว่างการเจรจา อินเดีย (ส่วนที่เหลือ) ไทย-สหรัฐอเมริกา ไทย-เปรู BIMSTEC ไทย-EFTA อาเซียน-จีน (ส่วนที่เหลือ) อาเซียน-ญี่ปุ่น อาเซียน-เกาหลี อาเซียน-อินเดีย BIMSTEC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย เนปาล และภูฎาน) EFTA (สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ ไอซ์แลนด์ และลิกเตนสไตล์) เนื่องจากรัฐบาลไทยประกาศยุบสภาเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ ทำให้การเจรจา FTA ที่อยู่ระหว่างดำเนินการในทุกๆ กรอบ ต้องหยุดชะงักลงชั่วคราวจนกว่าจะมีรัฐบาลใหม่ ยกเว้น การเจรจาภายใต้กรอบอาเซียนยังดำเนินการต่อไป โดยไทยมีบทบาทนำอยู่ในกระบวนการเจรจาด้วย FTA ไทย-สหรัฐฯ

8 8 ประเทศ และ 2 กลุ่มเศรษฐกิจ
EFTA China India Bahrain USA Peru Japan Australia New Zealand BIMST-EC Total trade with Thailand 43.8% Include AFTA 62.5%

9 อาเซียน – จีน การค้าบริการและการลงทุนอยู่ระหว่างการเจรจา
สินค้าผักผลไม้ พิกัด ระหว่างไทย-จีน ลดภาษีเป็น 0 เมื่อ 1 ตุลาคม 2003 สัตว์มีชีวิต เนื้อสัตว์ ปลาและอาหารทะเล นมและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์จากพืชและสัตว์ ในพิกัด ลดภาษีเป็น 0 เริ่ม 1 มกราคม มกราคม 2006 สินค้าอื่นๆ (พิกัด 09-97) เริ่มลดภาษีตั้งแต่ 20 กรกฎาคม 2005 และเหลือ 0 ภายในปี ยกเว้นสินค้าบางรายการ (สินค้าอ่อนไหว สินค้าอ่อนไหวสูง) มีมาตรการปกป้อง (Safeguard Measures) การทบทวนความตกลงการค้าสินค้า กลไกระงับข้อพิพาท (Dispute Settlement Mechanism) การค้าบริการและการลงทุนอยู่ระหว่างการเจรจา

10 รูปแบบการลด/เลิกภาษีของสินค้าปกติ
X=Applied MFN tariff rate ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 2546 อัตราภาษี (%) 2005 2007 2009 2010 X > 20% 20 12 5 15% < X < 20% 15 8 10% < X < 15% 10 5% < X < 10% X < 5% คงอัตราภาษี ◘ นอกจากนี้ยังยืดหยุ่นให้ยกเลิกภาษี ออกไปได้ภายในวันที่ 1 มกราคม 2555 อีกจำนวน ไม่เกิน 150 รายการ

11 รูปแบบการลด/เลิกภาษี สินค้าอ่อนไหว
กลุ่ม เพดานอัตราภาษี (%) สินค้าอ่อนไหว ปี 2012 20 ปี 2018 0-5 สินค้าอ่อนไหวสูง ปี 2015 50 หมายเหตุ : ลดภาษีเฉพาะในโควตา ภาษีนอกโควตาอยู่ระหว่างการเจรจา

12 อาเซียน – จีน สินค้าที่คาดว่าจะได้ประโยชน์
ผลไม้ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เคมีภัณฑ์อินทรีย์ สารแอลบูมินอยด์ ยางและผลิตภัณฑ์ยางบางชนิดพลาสติกและผลิตภัณฑ์ เครื่องจักรบางชนิด หนังฟอก อุปกรณ์และเครื่องใช้ทางการแพทย์ เป็นต้น

13 อาเซียน – จีน - สินค้าส่งออก 0% * การขอใบอนุญาตส่งออก/นำเข้า
ปัญหาและอุปสรรคในการเข้าสู่ตลาดจีน * การเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ทั้งนำเข้า&ผลิตภายใน) - สินค้าส่งออก 0% - สินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมบางประเภท 13% - สินค้าทั่วไป 17% * การขอใบอนุญาตส่งออก/นำเข้า * การตรวจสอบด้านสุขอนามัย (SPS) * ใบผ่านแดนประกอบการนำเข้า (สินค้าส่งออก ไม่ได้ส่งตรงไปจีน)

14 ปัจจัยชี้ถึงความสำเร็จจากการทำ FTA
เจรจาต่อรองเรื่องกฎแหล่งกำเนิดสินค้าได้สอดคล้องกับ ความสามารถในการผลิต เจรจาไม่สำเร็จ แต่ผู้ประกอบการสามารถปรับโครงสร้าง การผลิต และหันมาใช้วัตถุดิบในประเทศได้มากขึ้น พัฒนาการผลิต สินค้ามีคุณภาพ มีเทคโนโลยีมากขึ้น สินค้ากลุ่มใดยังไม่พร้อมจะเปิดตลาดทันที ให้เวลาในการ ปรับตัวเตรียมพร้อมอย่างเพียงพอ เช่น ปี บริการสาขาใดไทยยังไม่มารถแข่งขันได้ จะต้องค่อยๆ เปิด ผู้ประกอบการต้องตื่นตัวใช้สิทธิประโยชน์ด้านภาษีที่เจรจาไว้


ดาวน์โหลด ppt สัดส่วนของการส่งออก/GDP

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google