งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ”
อนาคตอุตสาหกรรมยานยนต์ และชิ้นส่วนไทย เมื่อไร้กำแพงภาษี “โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ” 1. แนวโน้มการค้าของโลก 2. นโยบายของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย 3. ไทยกับการเปิดเสรี FTA 4. ข้อมูลการนำเข้าและส่งออกยานยนต์และชิ้นส่วน 5. โอกาส / ประโยชน์ FTA ของไทย 6. ความท้าทายและผลกระทบ FTA ของไทย 7. อุปสรรคทางการค้าของไทย (FTA) 8. การรองรับการเปิดเสรีทางการค้า 8.1 จุดแข็งและจุดอ่อน 8.2 สิ่งที่ต้องทำเพื่ออุตสาหกรรมชิ้นส่วนฯ ถาวร ชลัษเฐียร ประธานกลุ่มชิ้นส่วนและอะไหล่ยานยนต์ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 29 กันยายน 2551

2 One World One Trading System
แนวโน้มการค้าของโลก Trade and Investment Policy Direction One World One Trading System 1st Best WTO China USA India Extending ASEAN 2nd Best Asean AFTA/AEC Japan Korea EU Aus/NZ Think ASEAN First ยุทธศาสตร์ด้านการค้าระหว่างประเทศของไทยจะต้องมุ่งเน้นให้ ASEAN ในลักษณะขององค์รวม ขึ้นมามีบทบาทนำในเวทีโลกให้ได้ เนื่องจากไทยเป็นประเทศที่เล็ก และสามารถดำเนินบทบาทในเวทีการค้าโลกได้จำกัด ไทยจึงต้องพึ่งพิงการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเพื่อเพิ่มน้ำหนักและอำนาจต่อรองทางการค้า ซึ่ง ASEAN เป็นกลุ่มที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดที่ไทยจะสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการดำเนินบทบาทที่มีน้ำหนักมากขึ้นในเวทีการค้าโลก China USA 3rd Best FTA Thailand India Australia Japan NZ 2020 Year X

3 Asia Pacific Economic Areas <Changing Business Environment>
Business Environment: Expansion of FTA ・Increasing numbers of FTA/EPA between ASEAN and other regions/countries ・Promote wider free trade between ASEAN and other regions Asia Pacific Economic Areas <Changing Business Environment> China ・ Within ASEAN        Move toward One-Market   : 0% Import tariff for 11 Priority Sectors   :Completion of AFTA  :ASEAN Economic Community ・ASEAN will be connected more closely with outside markets such as India, China, Australia, Korea and Japan. - ASEAN will be open to outside economies.   Korea Japan India ASEAN ◇Expand business strategies beyond ASEAN ◇More competition from U.S. & Europe Auto Parts suppliers Australia

4 Thai Automotive Development Under Government Policy
นโยบายของการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ของไทย Thai Automotive Development Under Government Policy World of Free Trade Units Liberalization & Promotion Protection Tariff Elimination FTA Negotiation Repealing prohibition on import of all types of vehicles Tax Restructuring Increased local content 54% for PC 60-72% for PU 45% for Truck&Bus Reduced excise tax rate Eco-car Project Investment promotion Tax reduction for export Repealing prohibition on establishing vehicle assembly factory Reduced tariff tax rate Repealing limitation of 42 series of passenger car assembly Focus on export Abolished local content Tax Restructuring CKD from 20% to 33% Increased local content from 25%to 50% for passenger cars Limited 42 series for passenger car assembly AFTA, TAFTA = 0% Diesel engine was compulsory parts of pick up JTEPA = 0% ( 2012)

5 กรอบการเจรจา FTA ที่สำคัญด้านยานยนต์
Country Sign Effective AFTA January 1992 1 January 1993 ITFTA 9 October 2003 1 September 2004 TAFTA 5 July 2004 1 January 2005 TNZCEP April 2005 1 July 2005 JTEPA 3 April 2007 1 November 2007

6 มูลค่าการส่งออกรถยนต์และอุปกรณ์ประกอบไปยังคู่เจรจา FTA
ข้อมูลการนำเข้าและส่งออกยานยนต์และชิ้นส่วน มูลค่าการส่งออกรถยนต์และอุปกรณ์ประกอบไปยังคู่เจรจา FTA ล้านบาท ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

7 มูลค่าการนำเข้ารถยนต์และอุปกรณ์ประกอบจากคู่เจรจา FTA
ล้านบาท N/A ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

8 ตลาดนำเข้าชิ้นส่วนยานยนต์สำคัญ 5 อันดับแรก
มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) ประเทศ 2549 2550 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 1. ญี่ปุ่น 78,696 72,502 53,986 2. ฟิลปปินส์ 8,917 8,033 5,041 3. อินโดนีเชีย 5,311 6,741 4,283 4. เยอรมันนี 5,289 4,632 3,103 5. เกาหลีใต้ 2,521 4,133 1,442 2549 2550 2551 (ม.ค.-ส.ค.) -9.6 -7.8 14.6 -12 -9.9 13.5 19.1 26.9 19.5 -38.3 -12.4 41 7.5 63.9 182.5 ตลาดส่งออกชิ้นส่วนยานยนต์สำคัญ 5 อันดับแรก มูลค่า : ล้านบาท อัตราการขยายตัว (ร้อยละ) ประเทศ 2549 2550 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 1. ญี่ปุ่น 22,797 24,149 21,344 2. อินโดนีเชีย 6,809 15,229 13,516 3. มาเลเซีย 13,448 14,273 11,575 4. แอฟริกาใต้ 9,837 10,436 6,985 5. สหรัฐอเมริกา 10,088 8,754 5,362 2549 2550 2551 (ม.ค.-ส.ค.) 19.7 5.9 34.7 -32.1 123.6 42.7 -2.8 6.1 30.9 15.3 6 1.1 2.2 -13.2 -12.2 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

9 โอกาส/ประโยชน์ของ FTA ต่ออุตสาหกรรมชิ้นส่วนไทย
การลดอัตราภาษีนำเข้าวัตถุดิบ เช่นเหล็กรีดร้อนจากญี่ปุ่นช่วยเพิ่มความได้เปรียบด้านต้นทุน (Cost Competitive) ของผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยในการแข่งขันกับต่างประเทศโดยเฉพาะชิ้นส่วนและรถยนต์จากจีน การลดกำแพงภาษีทำให้ราคาชิ้นส่วนจากประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันด้านราคา (Price Competitive) เหนือคู่แข่ง การยกเว้นภาษีนำเข้ารถยนต์ทำให้เกิดการส่งออกเพิ่มขึ้นส่งผลให้การผลิตชิ้นส่วนมีปริมาณเพิ่มขิ้น ด้วยทั้งในลักษณะ OEM และ REM ในระยะยาวการเปิดเสรีจะผลักดันให้ผู้ผลิตชิ้นส่วนไทยปรับตัวโดยหันไปเน้นการผลิตชิ้นส่วนที่ตนเองถนัด ทำให้สามารถผลิตได้อย่างมีประสิทธิภาพในเชิงขนาด (Economy of Scale) ส่งไปขายทั่วโลก เป็นโอกาสในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์เป็นอุตสาหกรรมหลักเพื่อการส่งออก สร้างดุลการค้าให้กับประเทศ เกิดการลงทุนระหว่างกันมากขึ้นเช่น การร่วมทุน (Joint Venture) เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้และถ่ายทอด เทคโนโลยีระหว่างกัน ผลประโยชน์จากข้อตกลงความร่วมมือด้านการฝึกอบรมเทคนิคและอาชีวศึกษา รวมถึงการฝึกอบรมด้าน เทคโนโลยีต่างๆ โอกาสในการพัฒนาทักษะความรู้ในการผลิตของ SMEs ไทยภายใต้โครงการพัฒนาบุคลากร ในอุตสาหกรรมยานยนต์ เช่น Automotive Human Resource Development Project : AHRDP

10 ความท้าทาย/ผลกระทบของ FTA ต่ออุตสาหกรรมชิ้นส่วนไทย
ในอนาคตบริษัทรถยนต์ญี่ปุ่นอาจเลือกใช้ชิ้นส่วน OEM นำเข้าจากญี่ปุ่นสำหรับรถยนต์ Model ใหม่ๆ ภายหลังภาษี นำเข้าลดลงเป็นศูนย์ การลงทุนด้าน High Technology อาจจะลดลงเนื่องจากจะสามารถผลิตในญี่ปุ่นได้เพราะกำแพงภาษี ที่ลดลง ประกอบกับหากเงินบาทแข็งค่าขึ้นทำให้สินค้าของไทยราคาแพงขึ้นหรือเท่ากับการผลิตที่ญี่ปุ่น (CIM >1) ส่งผลกระทบต่อการจ้างงานการพัฒนาบุคลากร และเทคโนโลยี อาจมีการแข่งขันจากการเข้ามาของ SME ต่างชาติเช่นจากญี่ปุ่นเข้ามาผลิตแข่งขันกับผู้ประกอบการไทย มีคู่แข่งจากภายนอกประเทศในรายการชิ้นส่วนสำเร็จรูปชนิดเดียวกันหรือมีความคล้ายคลึงกันมากขึ้น คูณภาพและมาตรฐานสินค้าจะกลายเป็นปัจจัยสำคัญในการแข่งขันมากขึ้น ภาษีนำเข้าของบางรายการยังไม่มีการเปิดเสรีที่แท้จริง เช่นรายการ Exclusion List/ Negative List ทำ ให้ราคาในการส่งออกสูง ไม่สามารถแข่งขันได้ เมื่อไม่มีกำแพงภาษีบางประเทศอาจหันไปปกป้องอุตสาหกรรมโดยอาศัยมาตรการที่ไม่ใช่ภาษี (Non-tariff Barrier) แทน เช่นการกำหนดมาตรฐานต่างๆ การ Subsidy ผู้ผลิตในประเทศ ผู้ผลิตจำเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยด้านการตลาดของแต่ละประเทศมากขึ้นเพื่อให้เข้าใจความต้องการ ของผู้บริโภคของแต่ละประเทศที่แตกต่างกัน

11 อุปสรรคทางการค้าสำหรับอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์
1. อุปสรรคการค้าภายในประเทศ (Internal Barriers) 1.1 โครงสร้างภาษีวัตถุดิบต้นน้ำ ยังไม่เหมาะสมโดยเฉพาะ เหล็กที่ใช้ในอุตสาหกรรมยานยนต์ ส่งผลต่อต้นทุนการผลิต 1.2 มาตรการ Anti-dumping เหล็กรีดร้อนที่นำมารีดเย็น ซึ่งผู้ผลิตเหล็กในประเทศ ยังไม่ สามารถผลิตได้ตามคุณภาพที่ต้องการ 1.3 กองทุนช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจาก FTA (FTA Fund) มีข้อจำกัดในทางปฏิบัติค่อนข้างมาก 2. อุปสรรคการค้าภายนอกประเทศ (External Barriers) ได้แก่มาตรการกีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (NTB) ของประเทศคู่ค้า การเลือกปฏิบัติต่อชิ้นส่วนนำเข้าจากต่างประเทศในบางประเทศโดยการลดหย่อน Excise Tax ให้กับรถยนต์ที่ใช้ชิ้นส่วนในประเทศ การกำหนดข้อบังคับด้านมาตรฐานการผลิตของประเทศในยุโรป เช่น มาตรฐาน REACH

12 สิ่งที่ต้องทำเพื่อรองรับการเปิดเสรีทางการค้า
เพิ่มขีดความสามารถ ด้านการผลิต Value creation Branding Thailand อำนวยความสะดวก ทางการค้า Logistics/Trade Facilitation มาตรการ ของรัฐร่วมกับ ภาคเอกชน การตลาดเชิงรุก Push Marketing มาตรการปกป้อง ผลประโยชน์ ทางการค้า วิจัยและพัฒนา R & D Global Value Chain/ Int’l Production Network

13 อุตสาหกรรมยานยนต์ไทยโดยรวม : จุดแข็ง จุดอ่อน
ไทยเป็นฐานการประกอบรถยนต์ในเอเซีย ตลาดในภูมิภาคมีขนาดใหญ่ที่พอเพียง กำหนดโครงสร้างอุตสาหกรรมอย่างชัดเจน มีประสบการณ์สะสมเทคโนโลยีขั้นพื้นฐานความสามารถทักษะแรงงานไทยที่เป็นที่ ยอมรับ วัฒนธรรมที่เกื้อหนุนและประนีประนอม จุดอ่อน ขาดการเชื่อมโยงของนโยบายภาครัฐระหว่างกลุ่มต่างๆ ของภาคอุตสาหกรรมยานยนต์ ขาดการสนับสนุนสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าในด้านคุณภาพสินค้าและราคา ขาดความสามารถในการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้ตรงกับความต้องการของตลาด ขาดความรู้และความสามารถในการจัดการ ด้านต้นทุนการผลิต ขาดเทคโนโลยีที่เป็นแก่นแท้ของตนเอง ขาดความสามารถในการออกแบบและวิจัยพัฒนาผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบุคลากรยังไม่ตอบสนองความต้องการของภาคอุตสาหกรรม

14 สิ่งที่ต้องทำในประเทศไทย
1. ต้องปรับปรุงด้าน Productivity ให้ดีขึ้นทุกปีโดยภาครัฐให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ (MOI) 2. พัฒนาด้านเทคโนโลยี โดยต้องสร้างศูนย์ทดสอบยานยนต์และชิ้นส่วนให้ทันสมัยและ สมบูรณ์ก่อนปี 2012 (TAI) 3. ต้องพัฒนาด้านบุคลากรของผู้ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ให้มีประสิทธิภาพ (TAI, TAPMA, APIC, TAIA), (MOL, MOI, MOE) 4. สนับสนุนและพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนเช่น - อุตสาหกรรมแม่พิมพ์ (TGI) - อุตสาหกรรมด้าน Cutting Tool อุปกรณ์ด้าน CNC, เครื่องมือวัด (NECTEC, MTEC) 5. เครื่องจักรที่มี Technology ชั้นสูงรัฐบาลต้องลดภาษีการนำเข้า ลงเหลือ 0% (MOF) 6. รัฐต้องลดภาษีวัตถุดิบ เช่นเหล็กพิเศษทุกชนิด พลาสติก เคมีภัณฑ์เป็น 0% ก่อนชิ้นส่วน เป็น 0% ก่อน 2 ปี (MOF) 7. รัฐให้การสนับสนุนการวิจัยพัฒนา การออกแบบชิ้นส่วนรถปิคอัพ เพื่อส่งเสริมให้ประเทศไทย เป็นศูนย์ส่งออกชิ้นส่วน REM รถปิคอัพ (1 Ton) ของโลก (MOI) 8. สนับสนุนโครงการ ECO CAR ให้เกิดเป็นรูปธรรม กำหนดการระยะเวลาตามแผนการ

15


ดาวน์โหลด ppt “โอกาสและความท้าทายของผู้ประกอบการ”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google