งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
หมู่ 1 อ.ณิธิชา ธรรมธนากูล

2 การแข่งขันในสินค้าอาหาร
ช่วยให้มีการดำเนินการทางเศรษฐกิจ และช่วยตอบคำถามพื้นฐานทางเศรษฐกิจ ช่วยในการกำหนดราคา ซึ่งเป็นตัวจัดสรร การใช้ทรัพยากร เป็นกลไกในการแสวงหากำไรจากแนวโน้มความสนใจของผู้บริโภค เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาผลิตภัณฑ์ และกลยุทธ์ทางการตลาด และการจัดการองค์กรให้มีต้นทุนต่ำกว่าคู่แข่งขัน

3 8.1 ประเภทของการแข่งขัน Firm Competition การแข่งขันระหว่างหน่วยธุรกิจ
Brand Competition การแข่งขันด้านยี่ห้อสินค้า Interregional Com. การแข่งขันระหว่างจังหวัด International Com. การแข่งขันระหว่างประเทศ Institutional Com. การแข่งขันระหว่างองค์กร Functional Com. การแข่งขันด้านหน้าที่ทางการตลาด Horizontal Com. การแข่งขันแบบแนวนอน Vertical Com การแข่งขันแบบแนวตั้ง

4 ในทางเศรษฐศาสตร์แบ่งการแข่งขันตาม พฤติกรรมและโครงสร้างของอุตสาหกรรม
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Perfect Competition) ตลาดผูกขาด (Monopoly) ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ตลาดผู้ขายมากราย (Monopolistic Competition)

5 8.2 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ภายใต้สภาพการแข่งขันสมบูรณ์ ต้องประกอบด้วย
มีจำนวนผู้ขายและผู้ซื้อมาก จนกระทั่งการกระทำของคนใดคนหนึ่งไม่มีอิทธิพลต่อราคา สินค้าไม่มีความแตกต่างกัน ผู้บริโภคไม่ใด้ชอบสินค้าของนาย ก. มากกว่าสินค้าของผู้ขายคนอื่นๆ การเข้า-ออกธุรกิจเป็นไปโดยเสรี ผู้ซื้อและผู้ขายมีความรู้อย่างสมบูรณ์ ผู้ซื้อและผู้ขายเป็น Price Taker

6 ตลาด หน่วยธุรกิจ ยกตัวอย่างเช่น ผักสดในตลาด
ยกตัวอย่างเช่น ผักสดในตลาด สิ่งที่ผู้ผลิตทำได้ เลือกเวลา และสถานที่ที่จะขายได้ 3 D S Si 5 P Y Yi ตลาด หน่วยธุรกิจ

7 8.3 ตลาดผูกขาด มีลักษณะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์
Monopoly = มีผู้ขายเพียงรายเดียวในตลาด Monopsony = มีผู้ซื้อเพียงรายเดียวในตลาด ต้องมีการจดสิทธิบัตรในการผลิต ถูกควบคุมโดยรัฐบาลมาก ข้อแตกต่าง ตลาดผูกขาดจะเลือกปริมาณการผลิต และระดับราคาที่ทำให้ได้กำไรสูงสุด แต่ตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะเลือกจุดเหมาะสมในการผลิต ณ ระดับราคาที่ได้รับ

8 8.4 ตลาดผู้ขายน้อยราย มีผู้ขายน้อยราย
ผู้นำตลาดเป็นผู้ที่มีอิทธิพลต่อราคา และส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจในด้านปริมาณการผลิต ส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจด้านราคาและปริมาณการผลิตของผู้ผลิตคนอื่นๆ ต้องพิจารณาความสามารถในการแข่งขันของตัวเองค่อนข้างมาก ต้องรู้ว่าควรจะอยู่อย่างไรโดยไม่ท้าทายให้เกิดการแข่งขันมาก หากผู้นำตลาดมีการเปลี่ยนแปลงราคา ผู้ผลิตรายอื่นๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงราคาตามทันที การแข่งขัน คือ การแข่งขันที่ไม่ใช่ด้านราคา

9 Cartels บริษัทค้าขายที่ตกลงร่วมมือกัน อย่างเป็นลายลักษณ์อักษร โดยมีการตกลงกันทั้งในเรื่องของราคา ปริมาณ และการแบ่งกำไร

10 8.5 ตลาดผู้ขายมากราย มีลักษณะกึ่งกลางระหว่างตลาดแข่งขันสมบูรณ์และตลาดผู้ขายน้อยราย มีผู้ขายที่หลากหลาย แต่ไม่มีใครมีอิทธิพลต่อผู้รายอื่นๆ ธุรกิจพยายามแสวงหาการพัฒนาสินค้าและบริการ ให้แตกต่างจากคู่แข่งขัน แต่ในสายตาของผู้บริโภคสินค้าเหล่านี้เหมือนกัน มีความยืดหยุ่นมากเนื่องจากมีสินค้าทดแทนมาก ลักษณะการแข่งขันเช่นเดียวกับตลาดผู้ขายน้อยราย

11 8.6 Market Structure and Performance
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ผลิตจำนวนสินค้า ณ ระดับราคาที่ได้รับ จึงต้องพยายามทำให้ต้นทุนต่ำสุด Greatest operational efficiency Best allocation of resources ตลาดผูกขาด เลือกปริมาณการผลิตได้ เลือกระดับราคาได้ Reduction in operational efficiency Misallocation of resources

12 8.6 Market Structure and Performance
ตลาดผู้ขายมากราย ก่อให้เกิดการด้อยประสิทธภาพจาก 2 กรณี - สินค้าทดแทนกันได้มาก - มีหน่วยธุรกิจรายใหม่เข้ามาตีตลาด ส่งผลให้ประสิทธิภาพทางการตลาดต่ำ ตลาดผู้ขายน้อยราย จะลดประสิทธิภาพทางการตลาดมากขึ้น เนื่องจาก - สินค้ามีความแตกต่างมากขึ้นเรื่อย ๆ - หน่วยธุรกิจรายใหม่เข้ามาประกอบการได้ยากขึ้น

13 8.7 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร
มีลักษณะใกล้เคียงตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ขาดเพียง ผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้อย่างสมบูรณ์ สินค้าไม่มีความแตกต่างกัน สินค้าอาหารและสินค้าเกษตรส่วนใหญ่มีลักษณะตลาดผู้ขายมากราย ลักษณะการแข่งขันไม่ได้แข่งขันในด้านราคา พยายามทำสินค้าให้มีความแตกต่างมากขึ้น

14


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 9 การแข่งขันในตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google