งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5

2 ข้อมูลหน่วยบริการปฐมภูมิ ในเขต 5

3 จำนวนเครือข่ายหน่วยบริการประจำ ของ เขต 5
สังกัด สธ นอกสังกัด เอกชน รวม เพชรบุรี 8 1 9 สมุทรสงคราม 3 สมุทรสาคร 2 5 ประจวบคีรีขันธ์ 10 22 27

4 จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบพัฒนาเป็น รพ. สต
จำนวนหน่วยบริการปฐมภูมิที่ได้รับงบพัฒนาเป็น รพ.สต. เขต 5 ปี 2553 ( เฉพาะ สอ.สธ. ) หน่วยบริการ จังหวัด สมุทรสงคราม สมุทรสาคร เพชรบุรี ประจวบ ฯ สอ. 43 47 100 65 รพ.สต. 6 8 17 16 รวม 49 55 117 81

5 GOAL การพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ 53-56
ประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่รับผิดชอบ มีความเชื่อมั่นและเลือกรับบริการที่ปฐมภูมิเป็นที่แรก และต่อเนื่อง เพิ่มการเข้าถึงบริการของกลุ่มเป้าหมาย และลดความแออัดของผู้ป่วยที่ รพ.แม่ข่าย

6 ผลผลิต/ ผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง
ทุกจังหวัดในเขต 5 มีระบบการส่งเสริม สุขภาพและเฝ้าระวังโรคเรื้อรัง ลดเสี่ยง ลดโรค ที่มีประสิทธิภาพ หน่วยบริการปฐมภูมิมีการคัดกรองกลุ่มเสี่ยง และคัดแยกกลุ่มเป้าหมายเพื่อจัดกิจกรรม บริการได้อย่างเหมาะสมตามความจำเป็น

7 ผลผลิต/ ผลลัพธ์ที่มุ่งหวัง (ต่อ)
หน่วยบริการปฐมภูมิสามารถดูแลสุขภาพ กลุ่มเป้าหมายได้อย่างมีคุณภาพ (ที่เสี่ยงสูง ไม่ให้ป่วย , ที่ป่วยไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน) อัตราเพิ่มของการเข้ารับการรักษาตัวใน โรงพยาบาลด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 3 อัตราการใช้บริการในระดับปฐมภูมิเพิ่มขึ้น

8 แนวทางการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ สำนักตรวจราชการสาธารณสุข เขต 5
เน้นการพัฒนา 5 ด้าน บริการรักษาพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค -ระบบสนับสนุนการพัฒนาบริการปฐมภูมิ สร้างการมีส่วนร่วมในชุมชน โครงสร้างพื้นฐาน เครื่องมือ อุปกรณ์ บุคลากร รพ.สต. นโยบาย 3 S S1 ด้านโครงสร้าง ปรับภูมิทัศน์ และปรับโฉมพื้นที่รองรับผู้ป่วย พัฒนาระบบ IT เชื่อมโยงระหว่าง รพ.สต.กับ รพ.พี่เลี้ยง S2 ด้านการให้บริการ - ลดเวลารอคอย/จัดคิว/นัดเวลา - จุดแนะนำการปฏิบัติตัวของผู้ป่วย - จัดบริการส่งต่อ ส่งกลับ/นัดหมาย S3 ด้านการบริหารจัดการ - คณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. - ระบบประกันคุณภาพ - รับฟังความคิดเห็น

9 แนวทางการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ สำนักตรวจราชการสาธารณสุข เขต 5
รพ.สต. 2. การรักษาพยาบาล เน้น Chronic Care Disease Process การจัดบริการ เน้น Home Word / Home Health Care งาน PP เชิงรุกโดยปฏิบัติร่วมกับ อสม. 3. เน้นการพัฒนา Data set 5 กลุ่มเป้าหมาย

10 แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เขต 5 ปี 2554 1. พัฒนา รพ.สต.ตามนโยบาย 3 S โครงสร้าง ป้าย , อาคาร การให้บริการ การลดระยะเวลารอคอย , Refer การบริหารจัดการ – การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ของคณะกรรมการพัฒนา รพ.สต. - ระบบประกันคุณภาพ PCA. ทุกจังหวัดจัดทำ Service Plan เชื่อมโยงทั้ง 4 มิติ การจัดหาบุคลากรปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ/รพ.สต.ตามเกณฑ์ที่กำหนด 4. ทบทวน/ฟื้นฟู ทักษะการให้บริการแก่บุคลากรที่ปฏิบัติงานในหน่วยบริการปฐมภูมิ / รพ.สต.

11 แนวทางการดำเนินงานเพื่อพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เขต 5 ปี 2554 4. พัฒนาระบบฐานข้อมูล 5 กลุ่มเป้าหมายหลักให้สมบูรณ์ เชื่อมโยง กับ 18 แฟ้ม 5. ติดตาม ประเมินความครอบคลุมการให้บริการพื้นฐาน Basic service อย่างต่อเนื่อง 6. นิเทศ ติดตาม การดำเนินงาน Chronic Care Disease - การคัดกรอง การคัดแยกกลุ่มเสี่ยง - การเยี่ยมบ้าน - การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 7. พัฒนาศักยภาพ อสม.เชี่ยวชาญ เพื่อช่วยติดตามเยี่ยมผู้ป่วยเรื้อรัง 8. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในระดับเขต

12 แนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต เขต 5 ปี 2554
แนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต เขต 5 ปี 2554 แนวทางปฏิบัติระดับเขต (จากการประชุมคณะทำงานฯ ภายหลังการประชุมฯ : 1) การพัฒนาระบบฐานข้อมูลที่เชื่อมโยงกับ 18 แฟ้ม : - ให้แต่ละจังหวัด กำกับติดตามงาน ตามแนวทางที่แต่ละจังหวัดดำเนินการอยู่ โดยให้เน้นคุณภาพของข้อมูลและความครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2) การคัดแยกกลุ่มเป้าหมาย (ทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย) เพื่อจัดบริการให้มี คุณภาพและตรงตามความจำเป็น โดยเฉพาะการจัดบริการเยี่ยมบ้าน : - เขตจะเร่งจัดทำมาตรการหรือข้อกำหนดให้ชัดเจน เพื่อให้แต่ละจังหวัด นำไปใช้ให้เป็นแนวทางเดียวกัน ซึ่งถ้ามีความก้าวหน้าแล้วจะแจ้งให้ ทราบ ระหว่างที่ยังไม่มีแนวปฏิบัติระดับเขต ขอให้แต่ละจังหวัด ดำเนินการตามแนวทางของแต่ละจังหวัดไปก่อน โดยขอให้แต่ละ อำเภอ มีแพทย์ 1 คน รับผิดชอบเป็นหัวหน้าทีมในการกำหนด มาตรฐานการดูแลรักษาผู้ป่วย และการจัดกิจกรรมส่งเสริม ป้องกันใน กลุ่มเสี่ยง

13 แนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต เขต 5
แนวทางปฏิบัติการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต เขต 5  ผลงานที่คาดหวังในปีงบประมาณ 2554 1) หน่วยบริการปฐมภูมิทุกแห่ง มีฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายทั้ง 5 กลุ่ม ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน 2) มี รพ.สต. ต้นแบบในการพัฒนางานบริการปฐมภูมิ อำเภอละ 1 แห่ง สามารถเป็นแกนนำในการพัฒนา รพ.สต.อื่นๆได้  การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขตในระยะต่อไป นำข้อมูลที่ได้จากฐานข้อมูลกลุ่มเป้าหมายต่างๆ มาวิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อกำหนดมาตรการหรือข้อกำหนดในการคัดแยกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อจัดบริการให้มีคุณภาพและตรงตามความจำเป็น

14 แผนการประเมินการพัฒนา รพ.สต.
วัน เดือน ปี จังหวัด หมายเหตุ 22-23 พฤศจิกายน 2553 จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 24-25 พฤศจิกายน 2553 จังหวัดเพชรบุรี 26 พฤศจิกายน 2553 จังหวัดสมุทรสาคร 29 พฤศจิกายน 2553 จังหวัดสมุทรสงคราม

15 สรุปผลการดำเนินงานการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิ
เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 5 จังหวัด อำเภอ ( ) งวดที่ 1 (กค.-กย.) ( ) งวดที่ 2 (ตค.-ธค.) ลำดับ โครงการ/กิจกรรม เป้าหมาย ผลการประเมิน ระดับดี ดีมาก ดีเยี่ยม หมายเหตุ 1 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (องค์ประกอบ 4 หมวด 22 ข้อ) 2 การใช้โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล(18 แฟ้ม) ในการประมวลผลข้อมูล หน่วยบริการ ปฐมภูมิทุกแห่ง = แห่ง ผลการดำเนินงาน การให้บริการกลุ่มเป้าหมายสำคัญ จำนวน % ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ ,หญิงหลัง คลอด , เด็ก 0- 5 ปีผู้สูงอายุ , ผู้พิการ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เชื่อมโยงกับการดูแลโดย อสม. 3 มีการดูแลกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง (คัดกรองการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม) ปัญหาอุปสรรค - คัดกรองกลุ่มเสี่ยง ( ) มี จำนวน..... ( ) ไม่มี - คัดแยกกลุ่มเป้าหมายดูแลตามสภาพปัญหา ( ) มี จำนวน..... - ประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ( ) ประเมิน ( ) ไม่ได้ ประเมิน ผลการประเมิน ระบุ

16 สวัสดี คณะทำงานพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิระดับเขต


ดาวน์โหลด ppt แนวทางการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เขต 5

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google