งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ. ประธานกรรมการเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3

2 ขอบเขตการบรรยาย/กิจกรรม
มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร ที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอก แนวปฏิบัติในการกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์ประเมิน คุณภาพภายใน

3 มาตรฐาน/เกณ์การประเมิน คืออะไร
1 มาตรฐาน/เกณ์การประเมิน คืออะไร สำคัญอย่างไร

4 มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน.. มีขอบเขต ดังนี้
คือ...มิติ หรือรายการคุณภาพที่ถูกกำหนดขึ้น เพื่อการพัฒนา ตรวจสอบและประเมินผล ปรากฏในรูป มาตรฐาน/องค์ประกอบ (ตัวบ่งชี้หลัก) ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย) คือ....เกณฑ์การให้คะแนนในแต่ละตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพหรือการให้ระดับคุณภาพ คำว่า “เกณฑ์การประเมิน” มีขอบเขตแค่ไหน หรือเมื่อกล่าวถึง “เกณฑ์การประเมิน” มักจะหมายถึงอะไร

5 ความสำคัญของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน
เป็นกรอบแนวทางเพื่อการพัฒนาสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการติดตาม ประเมินผล หรือควบคุมคุณภาพของหน่วยงานต้นสังกัด เป็นกรอบเพื่อการตรวจสอบและประเมินตนเองของสถานศึกษา เป็นกรอบเพื่อการประเมินผลภายนอกผล โดยองค์กรภายนอกที่มีหน้าที่รับรองมาตรฐาน เกณฑ์การประเมินมีบทบาททั้งในเชิง เป็นกรอบแนวทางการพัฒนา กรอบแนวทางการกำกับติดตามงาน และกรอบในการประเมินผลการดำเนินงาน

6 การกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินที่ดี
2 การกำหนดมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมินที่ดี คืออย่างไร

7 ที่มาของมาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน
เป็นรายการคุณภาพที่สังคมคาดหวัง ที่สอดคล้องกัน อย่างเป็นลำดับชั้น พ.ร.บ.การศึกษา แผนการศึกษาแห่งชาติ แนวปฏิรูปการศึกษาระยะ 10 ปี ในเชิงการทำงานที่เป็นระบบ ก่อนที่จะมาเป็น “เกณฑ์การประเมินผลภายในสถานศึกษา” จะมีกรอบที่เป็นพัฒนาการตามลำดับชั้น ในส่วนของเกณฑ์ประเมินภายนอกโดย สมศ. จะต้องกำหนกกรอบการประเมินที่สอดคล้องกับแนวปฏิรูป และหลักสูตร หลักสูตรแกนกลาง/สูตรสถานศึกษา เกณฑ์ประเมิน ภายนอก มาตรฐาน/เกณฑ์ประเมินภายใน ศธ. มาตรฐาน/เกณฑ์ประเมินภายในสถานศึกษา

8 กฏกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553
ข้อ 38 กำหนดให้ สมศ.ทำการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาแต่ละแห่งตามมาตรฐานการศึกษาของชาติและครอบคลุมในเรื่องหลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้ 1) มาตรฐานว่าด้วยผลการจัดการศึกษาแต่ละระดับ/แต่ละประเภทการศึกษา 2)มาตรฐานว่าด้วยการบริหารจัดการสถานศึกษา 3)มาตรฐานว่าด้วยการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 4) มาตรฐานว่าด้วยการประกันคุณภาพภายใน

9 มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอก ในการประเมินภายนอกรอบที่ 3 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
-เกณฑ์การประเมินภายนอกระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มักจะถูกพัฒนาขึ้นก่อน ก่อนที่จะปรับเป็นเกณฑ์ระดับปฐมวัย -เดิม เคยเรียก มาตรฐานที่ ในการประเมินรอบที่สาม เรียกว่า “ตัวบ่งชี้(หลักๆ)” แทนคำว่ามาตรฐาน

10 กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน
1. ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี(10) 2. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ (10) 3. ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง (10) 4. ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น (10) 5. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน(20) 6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (10) 7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(5) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5) ทะยานสู่เป้าหมาย กฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา 2553 กำหนดให้ประเมินภายนอกตามมาตรฐานการศึกษาชาติ ให้ครอบคลุม เรื่องต่าง ๆ คือ มาตรฐานว่าด้วย 1)ผลการจัดการศึกษา 2)การบริหารการศึกษา 3)การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 4)การประกันคุณภาพภายใน

11 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
9. ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(5) เน้นไปที่ผลการจัดการศึกษาที่เกิดกับผู้เรียน ตัวบ่งชี่ 9 ต้องกำหนดรายการอัตลักษณ์ร่วมกันระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ตัวบ่งชี้ 10 มุ่งที่จุดเน้น โดดเด่น หรือทำได้ดีจนประสบความสำเร็จ เช่น โรงเรียนเน้น-เด่นวิทยาศาสตร์ กีฬา วิถีพุทธ สองภาษา ฯลฯ ทะยานสู่เป้าหมาย

12 กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
11. ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(5) เน้นที่ผลของโครงการพิเศษ ทะยานสู่เป้าหมาย

13 มาตรฐาน/เกณฑ์การประเมิน คุณภาพภายนอก ในการประเมินภายนอกรอบที่ 3 ระดับการศึกษาปฐมวัย
ดูรายละเอียด ใน pdf File

14 ตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1. เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย(5)
2. เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย(5) 3. เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย(5) 4. เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย(10) 5. เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป(10)

15 6. ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (35)
7. ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา(15) 8. พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด(5)

16 ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 9. ผลการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจและวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา(2.5) 10. ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา(2.5)

17 ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม
11. ผลการดำเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(2.5) 12. ผลการส่งเสริมและพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทางปฏิรูปการศึกษา(2.5)

18 คำอธิบายเพิ่มเติม ตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ หมายถึง ลักษณะพิเศษของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียน ที่แสดงให้เห็นความแตกต่างของประเภท/กลุ่มโรงเรียน/โรงเรียนเพื่อเป็นข้อมูลสาธารณะให้ผู้ปกครองและนักเรียน ตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม คือ มาตรการที่นำมาปรับปรุงและพัฒนาเพื่อมุ่งไปสู่สถานศึกษาที่มีคุณภาพ ทะยานสู่เป้าหมาย

19 เกณ์ประเมินภายใน....อย่างไร
3 เราจะกำหนด เกณ์ประเมินภายใน....อย่างไร

20 แนวปฏิบัติในการกำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน
ทะยานสู่เป้าหมาย

21 แนวปฏิบัติในการวางแผน/กำหนดเกณฑ์ประเมินผลภายใน
การกำหนดจำนวนมาตรฐาน/องค์ประกอบ หรือตัวบ่งชี้หลัก ตัวบ่งชี้รอง/ตัวบ่งชี้ย่อย ใช้มาตรฐานใหม่(15 มาตรฐาน-ยังไม่เสร็จ) ใช้มาตรฐานเดิม(18 มาตรฐาน) ใช้มาตรฐานเดิม(18 มาตรฐาน) + 2 มาตรฐาน ( 2 มาตรฐาน คือ อัตลักษณ์ และ มาตรการส่งเสริม) -ให้ข้อคิด เรื่อง การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน -แบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม กิจกรรม 1: กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์ กิจกรรม 2 : เลือกโครงการพิเศษที่สถานศึกษามุ่งดำเนินการเพื่อพัฒนาชุมชน-สังคม ที่มีผลทั้งต่อชุมชน และต่อนักเรียน

22 การวางแผน/กำหนดเกณฑ์ ประเมินภายใน(ต่อ)
การเลือกรายการคุณภาพที่เป็นอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ของสถานศึกษา(ควรดำเนินการอย่างไร) การเลือกโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา....(ควรเลือกอย่างไร) การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์เชิงปริมาณ เกณฑ์เชิงคุณภาพ เกณฑ์เชิงพัฒนาการ -ให้ข้อคิด เรื่อง การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนน -แบ่งกลุ่ม ทำกิจกรรม กิจกรรม 1: กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์ กิจกรรม 2 : เลือกโครงการพิเศษที่สถานศึกษามุ่งดำเนินการเพื่อพัฒนาชุมชน-สังคม ที่มีผลทั้งต่อชุมชน และต่อนักเรียน

23 การวางแผน/กำหนดเกณฑ์การประเมิน
การจัดทำ Curriculum Mapping : เพื่อวางแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียนแบบสมบูรณ์ Mapping โครงการกับมาตรฐานสถานศึกษาฯ Mapping กิจกรรมแต่ละสัปดาห์ กับ มาตรฐานสถานศึกษา

24 ระดับคุณภาพ รายตัวชี้วัด
Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(4) Achieved...บรรลุผลตามที่คาดหวัง(3) Attempt..ได้ดำเนินการพัฒนาด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย มีการบันทึก รวบรวมผลการพัฒนาหรือความก้าวหน้าของงาน(2) Awareness…ตระหนักรู้ เช่น รับทราบ มีการประชุม วางแผน จัดทำแผนงาน-โครงการเพื่อรองรับการพัฒนาตามตัวบ่งชี้นั้น ๆ ฯลฯ

25 การตัดสินเชิงปริมาณ วัดจากร้อยละของผู้เรียน วัดจากร้อยละของครู
< ต้องปรับปรุง ควรปรับปรุง พอใช้ ดี 90 ขึ้นไป ดีมาก วัดจากร้อยละของครู

26 การตัดสินเชิงคุณภาพ กำหนดเงื่อนไขคุณภาพ/รายการคุณภาพผลงาน 3-10 รายการ แล้ว ตีค่าเป็นระดับคุณภาพ(เกรด) ( 1= ต้องปรับปรุง 2= ควรปรับปรุง 3= พอใช้ 4= ดี 5= ดีมาก) ตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้) ( คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 5 คะแนน ( คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 10 คะแนน ( คะแนน)..กรณีน้ำหนัก 2.5 คะแนน

27 การตัดสินเชิงพัฒนาการ
ดีขึ้น/สูงกว่า เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา เทียบเท่า หรือคงที่ เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา ลดลง/ต่ำลง เมื่อเทียบกับที่ผ่านมา ---> แล้วตีค่าเป็น คะแนน (ที่ได้)

28 เชิญ อภิปราย ซักถาม ทะยานสู่เป้าหมาย

29 กิจกรรม 1 : กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา ให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน 1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์ อัตลักษณ์ คือตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

30 กิจกรรม 2 : ออกแบบโครงการพิเศษ ให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน 1) เลือกหรือกำหนดโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทของสถานศึกษา(เป็นโครงการพัฒนาชุมชน หรือสังคมตามความพร้อมของสถานศึกษา เป็นโครงการที่ทำได้โดดเด่น) 2) กำหนดแนวทางการดำเนินงานโครงการพิเศษในรอบปี และระบุแนวทางการประเมินโครงการดังกล่าว(ประเมินผลที่เกิดกับชุมชน และ ผลที่เกิดกับนักเรียน) ตัวบ่งชี้ที่ ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการพิเศษ คือ ตัวบ่งชี้ที่ 11

31 กิจกรรม : กำหนดอัตลักษณ์ของสถานศึกษา และโครงการพิเศษเพื่อเสริมบทบาทสถานศึกษา ให้สมาชิกแต่ละโรงเรียนร่วมกัน 1) กำหนด/ระบุอัตลักษณ์ของสถานศึกษา(อัตลักษณ์ทั่วไป และ เอกลักษณ์) พร้อมคำอธิบายอัตลักษณ์(อธิบายในเชิงพฤติกรรมที่เป็นรูปธรรม) 2) กำหนดแนวทางการพัฒนา และแนวทางการประเมินอัตลักษณ์ 3) เลือกโครงการพิเศษที่ส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา(ควรเลือกโครงการที่เอื้อต่อการสร้างเอกลักษณ์) อัตลักษณ์ คือตัวบ่งชี้ที่ 9 และ 10 ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


ดาวน์โหลด ppt มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายใน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google