งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว
สัมมนาเวทีสาธารณะ เรื่อง... FTA ไทย – สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป The European Free Trade Association: EFTA โอกาสและความท้าทาย เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว ดร.ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา รองเลขาธิการ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และประธานคณะกรรมการเจรจาการค้าสินค้าระหว่างประเทศ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย วันพฤหัสที่ 16 พฤษภาคม 2556 ณ โรงแรมอโนมา

2 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ
หัวข้อการนำเสนอ FTA ไทย – EFTA : ประโยชน์ในภาพรวม 1 มุมมองเป็นรายกลุ่มสินค้า 2 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ 3

3 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ
หัวข้อการนำเสนอ FTA ไทย – EFTA : ประโยชน์ในภาพรวม 1 ผลกระทบรายกลุ่มสินค้า 2 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ 3

4 ถ้าไทยไม่ทำ FTA จะเกิดอะไรขึ้น ?
1.1 ไทยถูกตัด GSP ทำให้คู่แข่งได้เปรียบ 1.2 เกิดผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตของสินค้าส่งออกสำคัญที่ถูกตัด GSP 1.3 FTA ไทย-EFTA ให้ประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรมากกว่าและยั่งยืนกว่า GSP ที่ไทยได้รับในปัจจุบัน 1.4 ไทยจะได้เปรียบประเทศคู่แข่ง ที่ไม่ได้ทำ FTA กับ EFTA

5 ตัวอย่าง: สินค้าตอนที่ 16
1.1 “ไทยถูกตัดสิทธิ GSP ทำให้คู่แข่ง ได้เปรียบ” ตัวอย่าง: การจัดทำ FTA ระหว่างไทยกับสหภาพยุโรป ไทยจะถูกตัดสิทธิ GSP ในสินค้าสำคัญ เช่น: ผลิตภัณฑ์จากเนื้อสัตว์ สินค้าประมงแปรรูป อาทิ ทูน่ากระป๋องและกุ้งแปรรูป ในขณะที่คู่แข่งอย่าง จีน อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนาม (มี FTA กับอียู) ยังคงได้รับสิทธิ GSP ตัวอย่าง: สินค้าตอนที่ 16 อัตราภาษี* GSP MFN (ถูกตัดสิทธิ GSP) ทูน่ากระป๋อง (HS ) 20.5% 24.5% ปลาแปรรูป (HS 10.5% 14.0% กุ้งแปรรูป (HS ) 7.0% 20% *ที่มา:

6 1.2 “ห่วงโซ่การผลิตของสินค้าส่งออกได้รับผลกระทบ”
ตัวอย่าง: แรงงานที่เกี่ยวข้องกับภาคการเกษตรกรรมและการประมง ผลกระทบกับแรงงานในภาคเกษตรกรรมและประมง อุตสาหกรรม แรงงานในระบบ แรงงานนอกระบบ* รวม เกษตรกรรมฯ 2 ล้านคน 14 ล้านคน 16 ล้านคน การประมง 7 หมื่นคน 2 แสนกว่าคน 3 แสนคน * แรงงานนอกระบบ หมายถึง แรงงานที่ยังไม่ได้รับความคุ้มครองและไม่มีหลักประกันทางสังคม * ที่มา: สำนักงานสถิติแหง่ชาติ *ที่มา: สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ

7 ทำ หรือ ไม่ทำ FTA ไทยอยู่เฉยๆ ไม่เจรจา FTA กับ EU เจรจา FTA
1. เสียเปรียบคู่แข่งขันเพราะไทยไม่ได้ GSP อีกต่อไป 1. FTA ไทย-EFTA ให้ประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรมากกว่าและยั่งยืนกว่า GSP ที่ไทยได้รับในปัจจุบัน 2. เกิดผลกระทบต่อห่วงโซ่การผลิตสินค้าส่งออกสำคัญ (ไม่ใช่เพียงสินค้าส่งออกไม่ได้เท่านั้น แต่กระทบทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง) 2. ไทยเข้าสู่ตลาด EU ได้ดีขึ้นเป็นโอกาสเร่งปรับกระบวน การผลิตที่ดีอยู่แล้วให้ดี ยิ่งขึ้นทุกภาคส่วนได้รับประโยชน์ 3. กรณีเลวร้ายที่สุด ส่งออกไม่ได้เลย เพราะเสียเปรียบคู่แข่งขันที่มี FTA กับ EU 3. ไทยจะได้เปรียบประเทศคู่แข่งที่ไม่ได้ทำ FTA กับ EFTA

8 1.3 FTA ไทย-EFTA ให้ประโยชน์ด้านภาษีศุลกากรมากกว่าและยั่งยืนกว่า GSP ที่ไทยได้รับในปัจจุบัน

9 สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของนอร์เวย์
ตัวอย่าง: สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของนอร์เวย์ สินค้าส่งออก ของไทย ภาษีนำเข้า ภายใต้ GSP สำหรับ ประเทศสมาชิก WTO อาหารอื่นๆ ( เส้นพาสต้า) 23.78% 77.44% ข้าวโพด ( ข้าวโพดหวานปรุงแต่ง) 22.26% 24.76% สับปะรดแปรรูป ( สับปะรดกระป๋อง) 0.00% บรรจุภัณฑ์ ( ถุง/กระสอบใช้บรรจุของ) เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน ( เครื่องปรับอากาศ) อัญมณีและเครื่องประดับ ( เพชรพลอยรูปพรรณ) ที่มา:

10 สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของนอร์เวย์
ตัวอย่าง: สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของนอร์เวย์ สินค้าส่งออก ของไทย ภาษีนำเข้า ภายใต้ GSP สำหรับ ประเทศสมาชิก WTO ผักและผลไม้แปรรูป (HS 2005/2007) 75.01% 88.29% อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ (HS ) 124.43% 138.22% เสื้อผ้าสำเร็จรูป (HS / ) 0% 0-10.7% ผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน (HS 7113/7114/7115) ชา/เมล็ดกาแฟ (HS 0901/0902) อาหารสัตว์ (HS 2309) % ที่มา:

11 ตัวอย่าง: สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของสวิตเซอร์แลนด์
ภาษีนำเข้า ภายใต้ GSP ภาษีนำเข้าสำหรับ ประเทศสมาชิก WTO อาหารทะเลแปรรูป ( ปลาทูน่ากระป๋อง) 0.00% 1.97% เครื่องสำอางค์ ( สารที่มีกลิ่นหอม) 1.25% สี/เคมีภัณฑ์ ( สีชนิดรีแอกทีฟ) 0.99% ไม้และผลิตภัณฑ์ ( ไม้ที่ฝังด้วยมุก ฯลฯ) 1.07% อัญมณีและเครื่องประดับ ( เพชรพลอย/ส่วนประกอบ) 0.01% อุปกรณ์เบ็ดเตล็ด ( หน้าปัดนาฬิกา) 0.09% ที่มา:

12 ตัวอย่าง: สินค้าส่งออกของไทยที่ใช้สิทธิ GSP ของสวิตเซอร์แลนด์
ภาษีนำเข้า ภายใต้ GSP สำหรับ ประเทศสมาชิก WTO ผักและผลไม้แปรรูป (HS 2005/2007) 0% % อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ (HS ) n/a 8.87% เสื้อผ้าสำเร็จรูป (HS / ) % % ผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน (HS 7113/7114/7115) 0.01% ชา/เมล็ดกาแฟ (HS 0901/0902) อาหารสัตว์ (HS 2309) ที่มา:

13 อาหารแปรรูปอื่นๆ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ฯลฯ
แม้ไทยได้รับสิทธิ GSP จากEFTA และไม่เคยถูกตัดสิทธิฯ แต่การทำ FTA กับ EFTA จะทำให้สินค้าส่งออกสำคัญของไทย เช่น ข้าวโพดหวานปรุงแต่ง อาหารทะเลแปรรูป อาหารแปรรูปอื่นๆ เสื้อผ้าสำเร็จรูป ฯลฯ ได้รับภาษีลดลงซึ่งยั่งยืนมากกว่าสิทธิ GSP

14 1.4 ไทยจะได้เปรียบประเทศ
คู่แข่ง ที่ไม่ได้ทำ FTA กับ EFTA

15 ที่มา: www.trademap.com
ลำดับการส่งออกสินค้าของไทยไปไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่ง (มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2012) พิกัด สินค้า ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ 0303 กุ้งสด แช่เย็นแช่แข็ง เปรู 3 (1) เวียดนาม 13 (0.036) จีน 14 (0.015) อินโดนีเซีย 18 (0.003) ญี่ปุ่น 19 (0.002) ไทย 35 (0) จีน 10 (0.6) เปรู 14 (0.3) เวียดนาม 15 (0.3) อินเดีย 19 (0.058) ไทย 20 (0.051) จีน 7 (0.8) เวียดนาม 8 (0.5) ไทย 13 (0.226) อินเดีย 18 (0.07) อินโดนีเซีย 20 (0.030) 1006 ข้าว ไทย 1 (0.7) อินเดีย 2 (0.5) จีน 12 (0.008) เวียดนาม 13 (0.007) ญี่ปุ่น14 (0.006) ไทย 1 (13) อินเดีย 2 (5) เวียดนาม 10 (0.26) จีน 16 (0.1) บราซิล 19 (0.062) บราซิล 1 (24) ไทย 3 (14) อินเดีย 4 (9) ญี่ปุ่น 17 (0.04) กัมพูชา 18 (0.04) 1604 ปลาแปรรูป ไทย 1 (1) ฟิลิปปินส์ 4 (0.2) อินโดนีเซีย 6 (0.09) อินเดีย 8 (0.07) จีน 18 (0.002) ไทย 2 (16) ญี่ปุ่น 7 (1.3) เวียดนาม 8 (1.150) จีน 12 (0.7) ฟิลิปปินส์ 16 (0.37) ไทย 2 (26) เวียดนาม 7 (7) อินโดนีเซีย 8 (5) ฟิลิปปินส์ 11 (3) จีน 17 (1) 1605 กุ้งแปรรูป ไทย 1 (0.1) เวียดนาม 2 (0.02) จีน 8 (0.011) อินโดนีเซีย 9 (0.01) ญี่ปุ่น 10 (0.006) จีน 4 (6) เวียดนาม 6 (4) ไทย 9 (1) ซิลี 15 (0.2) อินโดนีเซีย 16 (0.2) ไทย 3 (7) อินโดนีเซีย 11 (0.6) จีน 13 (0.5) อินเดีย 19 (0.2) สิงคโปร์ 20 (0.1) ที่มา:

16 ที่มา: www.trademap.com
ลำดับการส่งออกสินค้าของไทยไปไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่ง (มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2012) พิกัด สินค้า ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ 190211 เส้นพาสต้า จีน 4 (0.015) ไทย 9 (0.001) เวียดนาม 10 (0.003) ญี่ปุ่น 4 (0.1) จีน 5 (0.08) ไทย 12 (0.005) ฟิลิปปินส์ 19 (0.001) 20 ผัก-ผลไม้กระป๋อง แปรรูป ไทย 13 (0.6) จีน 17 (0.4) ฟิลิปปินส์ 18 (0.3) เปรู 20 (0.14) เวียดนาม 22 (0.14) บราซิล 5 (21) จีน 7 (15) ไทย 9 (13) อินโดนีเซีย 19 (2) ฟิลิปปินส์ 22 (2) บราซิล 4 (42) ไทย 10 (15) จีน 11 (15) เปรู 16 (5) อินเดีย 20 (3) 2103 ซอสและเครื่องปรุงรส ไทย 9 (0.4) ญี่ปุ่น 16 (0.1) เปรู 17 (0.09) จีน 19 (0.05) อินเดีย 24 (0.02) ไทย 10 (4) ญีปุ่น 18 (1) จีน 19 (1) ออสเตรเลีย 20 (0.8) อินเดีย 21 (0.6) ไทย 4 (9) จีน 11 (1.6) ญี่ปุ่น 12 (1.6) สิงคโปร์ 14 (0.9) เม็กซิโก 19 (0.3) 33 เครื่องสำอาง สบู่ และผลิตภัณฑ์รักษาผิว ญี่ปุ่น 12 (0.6) จีน 14 (0.3) ไทย 17 (0.2) ออสเตรเลีย 18 (0.2) บราซิล 27 (0.02) จีน 15 (7) ญี่ปุ่น 17 (4) ออสเตรเลีย 18 (4) มาเลเซีย 22 (2) ไทย 23 (2) ไทย 8 (25) จีน 9 (24) อินเดีย 12 (17) บราซิล 15 (15) อินโดนีเซีย 16 (8) ที่มา:

17 ลำดับการส่งออกสินค้าของไทยไปไอซ์แลนด์ นอร์เวย์
และสวิตเซอร์แลนด์ เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่ง (มูลค่า: ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2012) พิกัด สินค้า ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ 34 สบู่ สิ่งปรุงแต่งที่ใช้ซักล้าง ไขที่ใช้ทาง ทันตกรรม ออสเตรเลีย 23 (0.06) เวียดนาม 24 (0.04) ไทย 25 (0.03) ญี่ปุ่น28 (0.014) อินเดีย 32 (0.008) จีน 9 (18) ไทย 19 (0.8) เวียดนาม 20 (0.7) บราซิล 23 (0.6) อินเดีย 30 (0.3) จีน 8 (15) ออสเตรีย11 (12) ญี่ปุ่น15 (4) อินเดีย 19 (2) มาเลเซีย 22 (1) ไทย 23 (0.7) 40 ยางและผลิตภัณฑ์จากยาง จีน 1 (7.5) ญี่ปุ่น 3 (4) เมเลเซีย 10 (1.2) อินเดีย 19 (0.5) สิงคโปร์ 21 (0.9) ไทย 22 (0.9) จีน 5 (53) ญี่ปุ่น 10 (31) มาเลเซีย 15 (19) อินเดีย 21 (8) ไทย 22 (7) ญี่ปุ่น 4 (50) จีน 8 (33) มาเลเซีย 13 (28) ไทย 21 (16) อินโดนีเซีย 26 (6) 71 อัญมณีและเครื่องประดับ จีน 2 (1) ไทย 6 (0.4) อินเดีย 13 (0.09) อินโดนีเซีย 15 (0.03) ออสเตรเลีย 25 (0.02) จีน 4 (49) ไทย 6 (15) อินเดีย 12 (11) เวียดนาม 25 (0.50) สิงคโปร์ 26 (0.4) ญี่ปุ่น 10 (796) สิงคโปร์ 11 (479) อินเดีย 15 (242) ออสเตรเลีย 19 (101) ไทย 21 (98) 73 ของทำด้วยเหล็ก/เหล็กกล้า จีน 4 (6) เวียดนาม 22 (0.4) จีน 23 (0.4) อินเดีย 29 (0.30) ไทย 32 (0.1) ญี่ปุ่น 4 (345) จีน 7 (259) ไทย 10 (177) อินเดีย 23 (15) เม็กซิโก 31 (7) จีน 4 (216) ญี่ปุ่น 16 (18) อินเดีย 22 (11) มาเลเซีย 23 (9) เวียดนาม 26 (8) ไทย 28 (7) ที่มา:

18 ที่มา: www.trademap.com
ลำดับการส่งออกสินค้าของไทยไปไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวิตเซอร์แลนด์ เปรียบเทียบกับประเทศคู่แข่ง (มูลค่า:ล้านเหรียญสหรัฐฯ ปี 2012) พิกัด สินค้า ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ 8415 เครื่องปรับอากาศ สิงคโปร์ 4 (0.2) จีน 7 (0.09) ญี่ปุ่น 12 (0.042) ไทย 13 (0.03) อินเดีย 22 (0.002) ไทย 3 (20) จีน 6 (12) มาเลเซีย 9 (10) ญี่ปุ่น 10 (8) อินเดีย 27 (0.3) ญี่ปุ่น 6 (12) จีน 8 (97) ไทย 14(2) ฟิลิปปินส์ 17 (1) มาเลเซีย 18 (1) 8703 รถยนต์และยานยนต์อื่น ๆ ที่ออกแบบสำหรับขนส่งบุคคลเป็นหลัก ญี่ปุ่น 2 (31) อินเดีย 10 (2) เม็กชิโก 16 (0.3) จีน 22 (0.083) ไทย 26 (0.035) ญี่ปุ่น 2 (652) เม็กชิโก 12 (44) ไทย 25 (5) อินเดีย 27 (4) จีน 28 (3) เม็กซิโก 17 (87) อินเดีย 22 (27) จีน 25 (14) ไทย 47 (0.3) ออสเตรเลีย 48 (0.3) 8708 ส่วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของยานยนต์ตามประเภทที่ ถึง 87.05 ญี่ปุ่น 3 (3) จีน 5 (1) อินเดีย 20 (0.2) ไทย 23 (0.1) ออสเตรเลีย 26 (0.093) ญี่ปุ่น 7 (38) จีน 9 (30) ไทย 24 (3) อินโดนีเซีย 29 (2) เม็กซิโก 30 (1) ญี่ปุ่น 5 (39) จีน 11 (22) อินเดีย 25 (2) เม็กชิโก 26 (2) ไทย 29 (2) 91 นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาพกและนาฬิกาชนิดวอตช์อื่น ๆ รวมถึงนาฬิกาจับเวลา จีน 2 (0.7) ญี่ปุ่น 12 (0.031) ฟิลิปปินส์ 13 (0.029) เม็กซิโก 18 (0.012) เปรู 22 (0.007) อินเดีย 23 (0.006) ไทย 24 (0.005) จีน 2 (18) ญี่ปุ่น 13 (0.6) ฟิลิปปินส์ 15 (0.5) ไทย 18 (0.3) อินเดีย 20 (0.1) จีน 1 (789) ไทย 5 (286) ญี่ปุ่น 8 (110) สิงคโปร์ 10 (91) อินเดีย 16 (22) ที่มา:

19 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ
หัวข้อการนำเสนอ FTA ไทย – EFTA : ประโยชน์ในภาพรวม 1 มุมมองเป็นรายกลุ่มสินค้า 2 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ 3

20 สินค้าและบริการ ที่คาดว่าจะได้/เสียประโยชน์จากการเจรจา EFTA
สมาชิกสภาอุตสาหกรรม สมาชิกสภาหอการค้า 1. อาหารกระป๋องและอาหาร ทะเลแปรรูป 2. อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ 3. ปลาป่น 4. ผลิตภัณฑ์ถุงมือยาง วัสดุตกแต่งภายใน เฟอร์นิเจอร์ 7. เครื่องใช้ไฟฟ้า 1. ผักและผลไม้ 2. อัญมณีและเครื่องประดับ 3. ผลิตภัณฑ์ยางพารา 4. เสื้อผ้าสำเร็จรูป 5. โรงแรมและสปา 6. บริการโลจิสติกส์ 7. การเงิน/การธนาคาร 8. ท่องเที่ยว/ร้านอาหาร ที่มา: สภาอุตสาหกรรมฯ / หอการค้าไทยฯ

21 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ ผัก/
ผลไม้สด 1.1 ลู่ทางในการเข้าตลาดโดยเฉพาะสวิสเซอร์แลนด์ยากมาก ต้องเป็นผู้ประกอบการที่มีความเชี่ยวชาญสูง ผลิตสินค้าได้ มาตรฐานและราคาถูก 1.2 ด้านมาตรการสุขอนามัยจะใช้มาตรฐานคล้ายกับสหภาพ ยุโรป แต่ความเข้มงวดขึ้นอยู่กับการทำงานของราชการ บางครั้งผ่อนปรน บางครั้งเข้มงวดสูง เช่น เคยห้ามผู้นำเข้า ประกอบธุรกิจอีกต่อไป เมื่อมีการทำผิดกฎระเบียบ ข้อเสนอแนะ 1.3 รัฐบาลควรต่อรองการเข้าตลาดระหว่างสองประเทศให้ ปฏิบัติได้จริงโดยเฉพาะเรื่องมาตรฐาน เช่น ต่อรองและ แลกเปลี่ยนการนำเข้าผลไม้ของแต่ละฝ่าย เช่น ไทยไม่ ควรเข้มงวดด้านสุขอนามัยกับผลไม้ที่นำเข้าจากประเทศ ต่างๆ แต่กลับละเว้นการตรวจสอบการนำเข้าผลไม้จาก จีน ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

22 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
2. อาหารกระป๋องและอาหารทะเลแปรรูป 2.1 สินค้าดังกล่าวเป็นสินค้าทื่ไทยมีศักยภาพค่อนข้างมากและเป็น กลุ่มสินค้าเชิงรุกและมีความพร้อมที่จะเปิดตลาดแข่งขันกับ EFTA ได้และขอให้กลุ่ม EFTA ลดภาษีเหลือร้อยละ 0 ให้เร็วที่สุด เนื่องจากว่าสินค้าบางรายการในกลุ่มอาหารกระป๋องแปรรูปยังถือว่ามี อัตราภาษีค่อนข้างสูง เช่น ผักและผลไม้กระป๋อง เป็นต้น 2.2 ขณะเดียวกันตลาดหลักอยู่ที่สหภาพยุโรป เช่น อิตาลี เยอรมัน ฝรั่งเศส เนเธอแลนด์ เป็นต้น และใช้ประเทศเหล่านี้เป็น เหมือนศูนย์กระจายสินค้าไปยังประเทศอื่นๆ เนื่องจากว่ามี พรมแดนติดกัน สะดวกต่อการขนส่ง 2.3 ปัจจัยปัญหาที่สำคัญอีกอย่างหนึ่งคือ เรื่องของระยะทางที่ ค่อนข้างจะไกลและเป็นอุปสรรคเรื่องของต้นทุน 2.4 ดังนั้น หากมีการเปิดเสรี EFTA สำหรับสินค้าอาหารทะเลแปรรูป ไม่ได้มีผลกระทบและสามารถแข่งขันกับกลุ่มประเทศ EFTA ได้ ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

23 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
3. อาหารแปรรูปจากเนื้อสัตว์ 3.1 ผู้ส่งออกเนื้อไก่แปรรูปไปสวิตฯ มองว่าตลาดค่อนข้างเล็กถึงแม้ว่า จะไม่มีการกำหนดโควตาแต่มีความเข้มงวดเรื่องใบรับรองด้านสุขอนามัย และต้องให้หน่วยงานที่ได้รับมอบอำนาจจากรัฐบาลมาตรวจสอบ คุณภาพสินค้าอีกครั้ง ซึ่งก่อให้เกิดความยุ่งยากและเป็นการเพิ่มต้นทุน ของสินค้า 3.2 การที่ไทยจะมีความตกลง ไทย-EFTA หรือไม่ก็ไม่ได้มีผลแต่อย่าง ใดเนื่องจากสินค้าเกษตรฯ EFTA ค่อนข้างที่จะได้รับการปกป้อง ภายในประเทศเป็นอย่างมาก 4. ปลาป่น 4.1 ปัจจุบัน ปลาป่น ไม่มีการส่งออกไปยังประเทศในกลุ่ม EFTA มีเพียง การส่งออกไปยังอังกฤษ (ในสหภาพยุโรป) เล็กน้อยเท่านั้น โดยตลาด ส่งออกส่วนใหญ่ของปลาป่นไทย คือประเทศสมาชิกอาเซียน เช่น เวียดนาม อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ และ จีน 4.2 แม้นอร์เวย์ผลิตปลาป่นคุณภาพดี แต่ผู้นำเข้าไทยมักไม่นำเข้าจาก นอร์เวย์เนื่องจากระยะทางไกลเกินไป 4.3 ดังนั้น หากมีการเจรจาเขตการค้าเสรี EFTA กลุ่มปลาป่นเห็นว่าน่าจะ ไม่ได้รับผลกระทบมากนัก

24 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
5. อัญมณีและเครื่องประดับ 5.1 ไทยส่งออกสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับไป สวิตเซอร์แลนด์มากที่สุดในยุโรป โดยเฉพาะสินค้าทองคำแท่ง และทองรูปพรรณ เฉลี่ย 150 ล้านเหรียญสหรัฐฯ/ปี 5.2 บริษัทที่เข้ามาลงทุนในไทยโดยผ่าน BOI คือ บริษัท SWAROVSKI โดยอาศัยช่างฝีมือของไทย (เกิดการจ้างงานใน ประเทศไทย) แล้วส่งสินค้าสำเร็จรูปกลับไปขายที่ยุโรป 5.3 สินค้าดังกล่าวไม่มีปัญหาด้านมาตรการกีดกันทางการค้า (NTBs) เนื่องจากเป็นที่ต้องการของตลาดยุโรปและฝีมือของ ช่างไทยได้รับความนิยมมาก 5.4 โดยภาพรวมสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ ถือว่าได้ ประโยชน์หากไทยทำ EFTA ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

25 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
6.ผลิตภัณฑ์ ยางพารา 6.1 สินค้าในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นวัตถุดิบกึ่งสำเร็จรูป เช่น ยางแท่ง ฯลฯ โดยส่วนใหญ่ส่งออกไปยังกลุ่มประเทศสมาชิกอียู เป็น ส่วนใหญ่ เนื่องจากคุณภาพของยางพาราของไทยค่อนข้างที่ จะดีที่สุด 6.2 ในขณะที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA ไทยมีส่งออกวัตถุดิบกึ่ง สำเร็จรูปไปที่สวิตฯ และนอร์เวย์ บ้างแต่ในปริมาณที่ค่อนข้าง น้อยมาก ซึ่งบางเดือนก็ไม่ได้มีการส่งออกไปยังกลุ่ม EFTA 6.3 ดังนั้นหากมีการเจรจาเขตการค้าเสรี EFTA กลุ่มผลิตภัณฑ์ ยางพารา (วัตถุดิบกึ่งสำเร็จรูป) ไม่ได้รับผลกระทบแต่อย่างใด 7. เสื้อผ้าสำเร็จรูป - ตลาด EFTA เล็กและไม่น่าจูงใจ การค้าและคำสั่งซื้อจากกลุ่ม EFTA น้อยมากเพราะ EFTA สั่งซื้อจากสหภาพยุโรปมากกว่า ซึ่งเยอรมันเป็นประเทศที่นำเข้าและส่งออกเสื้อผ้าสำเร็จรูปราย ใหญ่ในสหภาพยุโรป โดยจัดจำหน่ายไปทั่วสหภาพยุโรปรวมถึง กลุ่มสแกนดิเนียเวีย ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

26 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ 8.
ผลิตภัณฑ์ ถุงมือยาง 8.1 กลุ่มผลิตภัณฑ์ถุงมือยาง (Finished product ของผลิตภัณฑ์ จากยางพารา) ตลาดหลักที่มีการส่งออกมากที่สุดคือ จีน ญี่ปุ่น อินเดียและสหภาพยุโรป ในขณะที่กลุ่มประเทศสมาชิก EFTA มีปริมาณการส่งออกไปน้อยมากๆ 8.2 ดังนั้นหากไทยจะทำ FTA กับ EFTA มองว่าน่าจะเป็นโอกาส สำหรับผลิตภัณฑ์ถุงมือยางในการเข้าสู่ตลาด EFTA แต่จะต้องเป็น การเจรจาแบบมีเงื่อนไขที่จะต้องปกป้องอุตสาหกรรมในประเทศด้วย รวมถึงการเปิดเสรีดังกล่าวจะต้องมีความสอดคล้องกับนโยบายของ รัฐบาลในเรื่องของการส่งเสริมให้มีมูลค่าเพิ่มในประเทศสำหรับการ ผลิตสินค้าที่ต้องใช้วัตถุดิบยางพาราที่มีคุณภาพในประเทศ เพื่อ ส่งออกในลักษณะสินค้าสำเร็จรูป (Finished product) ข้อเสนอแนะ 8.3 ภาครัฐควรมีการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ต่างๆ ที่ ภาคเอกชนหรือผู้ประกอบจะได้รับ (เช่น การเจรจาเปิดเขตการค้าเสรี EFTA) ให้มากกว่านี้โดยอาจจะมอบหมายให้ทางพาณิชย์จังหวัด เป็น หนว่ยงานหลักในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์และถูกต้องกับ ผู้ประกอบการในจังหวัดนั้นๆ ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

27 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
9. วัสดุก่อสร้าง/ตกแต่งภายใน 9.1 สินค้าวัสดุก่อสร้าง ที่ส่งออกไปประเทศในกลุ่มสมาชิก EFTA มี น้อยมาก เนื่องจากติดปัญหาเรื่องของระยะทางการขนส่งที่ค่อนข้าง ไกลไม่คุ้มค่า Freight ในขณะที่สินค้าที่พอจะส่งออกไปได้บ้างส่วน ใหญ่จะเป็นสินค้าที่มีมูลค่าสูงถึงจะคุ้มกับค่าขนส่งและค่า Freight เช่น กระเบื้องปูพื้น เป็นต้น ในทางกลับกันกลุ่ม EFTA ไม่มีการส่ง สินค้าวัสดุก่อสร้าง/ตกแต่งภายใน เข้ามาในไทยมากนัก 9.2 โดยรวมแล้วการทำ EFTA ถือว่าเป็นโอกาสสำหรับสินค้าในกลุ่ม นี้ เนื่องจากไทยสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ด้านเทคโนโลยีและการ พัฒนานวัตกรรมต่างๆ อีกทั้งยังเป็นโอกาสำหรับผู้ประกอบการไทย ในการเข้าไปลงทุนในกลุ่มประเทศ EFTA ได้สะดวกขึ้น ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

28 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
10. เฟอร์นิเจอร์ 10.1 สินค้าเฟอร์นิเจอร์ไม่ได้ส่งออกจากไทย ตรงไปยัึงประเทศกลุ่ม EFTA แต่จะส่งผ่านประเทศสมาชิกสหภาพยุโรป เช่น เยอรมัน และเดนมาร์ก สินค้าส่งออกได้แก่ เก้าอี้โซฟา ชุดโต๊ะอาหาร เฟอร์นิเจอร์หนัง ฯลฯ แต่กลุ่มฯ ไม่กังวลมากนักในเรื่องการนำเข้า เนื่องจาก EFTA ไม่ใช่ผู้ส่งออกรายใหญ่ 10.2 ประเด็นมาตรการทางการค้าี่มิใช่ภาษีส่วนใหญ่อ้างอิงมาตรการฯ อียูในในเรื่องการดูแลสิ่งแวดล้อมและการปฎิับัติตามมาตรการ Forest Law Enforcement, Governance and Trade (FLEGT) ซึ่งกำหนดให้ผลิตภัณฑ์ไม้ฯ ต้องมีใบรับรองว่าเป็นไม้ที่ตัดจากป่าธรรมชาติหรือป่าปลูกที่มีการจัดการเป็นที่ยอมรับผู้นำเข้าและผู้ส่งออกและต้องสามารถเข้าถึงข้อมูลเพื่อตรวจสอบย้อนกลับได้ 11. เครื่องใช้ไฟฟ้า 11.1 กลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้า ส่วนใหญ่ส่งออกสินค้าไปยังกลุ่มสมาชิกอียู มากกว่า ในขณะเดียวกันอียูอาจจะเป็นจุดกระจายสินค้าทางอ้อมไปยัง ประเทศ EFTA อีกต่อหนึ่ง แต่ไทยไม่ได้ส่งตรงไปยังกลุ่มประเทศ EFTA 11.2 โดยรวมแล้ว EFTA เป็นตลาดที่ขนาดเล็กและกลุ่มเครื่องใช้ไฟฟ้าไม่ ค่อยมีการค้าร่วมด้วยเท่าที่ควร ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

29 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
12. ไม้อัดไม้บางและวัสดุแผ่น/สิ่งทอ/ เยื่อและกระดาษ - ไม่เห็นด้วยต่อการทำ EFTA เนื่องจากเกรงว่าจะส่งผล กระทบกับอุตสาหกรรมในประเทศ เพราะสมาชิกประเทศ EFTA เป็นผู้ผลิตและผู้ส่งออกรายใหญ่ 13. บริการโรงแรม 13.1 ในกลุ่ม EFTA สวิตเซอร์แลนด์น่าไปลงทุนมากที่สุด สำหรับประเทศสมาชิกอื่นๆ เป็นประเทศที่อยู่ในเขตภูมิอากาศ หนาวไม่เหมาะกับการท่องเที่ยว แต่การลงทุนด้านโรงแรมใน สวิสเซอร์แลนด์ คาดว่าต้องใช้เวลานานจึงจะคุ้มทุน 13.2 ไทยควรจะเปิดเสรีให้สวิตเซอร์แลนด์มาจัดตั้งโรงเรียน สอนด้านการโรงแรมเพราะสวิตเซอร์แลนด์เก่งในด้านการ โรงแรมในระดับแถวหน้าของโลก 13.3 การเดินทางเข้าสวิตเซอร์แลนด์ค่อนข้างเข้มงวดเรื่อง วีซ่าจึงไม่สร้างความจูงใจในด้านธุรกิจหรือแม้แต่การ ท่องเที่ยว - ยกตัวอย่างเช่น กลุ่มโรงแรมในเครีอ MOEVENPICK ฯลฯ ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

30 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
14. การเงิน/ธนาคาร 14.1 ธนาคารไทยไม่มีความสามารถในการแข่งขันกับธนาคารสวิตฯ เนื่องจากธนาคารสวิตฯ มีการพัฒนานวัตกรรมทางการเงินใหม่ๆ อย่าง ต่อเนื่อง และมีผู้เชียวชาญทางการเงินและมีความสามารถด้านภาษาที่ หลากหลาย อีกทั้งยังเป็นศูนย์กลางทางการเงินในยุโรปและในระดับโลก 14.2 การเปิดเสรีของไทย ควรเปิดเสรีตามแผนแม่บทของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ที่เป็นการเปิดเสรีแบบค่อยเป็นค่อยไป 15. ธุรกิจสปา 15.1 ธุรกิจสปามีศักยภาพในการลงทุนในต่างประเทศ 15.2 รูปแบบการลงทุนธุรกิจสปาไทยในสวิตฯ มีหลากหลาย เช่น เจ้าของ เป็นต่างชาติและมีบริการสปาไทยเสริมในธุรกิจนั้นๆ หรือผู้ประกอบการไทย ร่วมลงทุนกับต่างชาติหรือผู้ประกอบการไทยเป็นเจ้าของคนเดียว 15.3 ปัญหาและอุปสรรคคือ ไม่สามารถควบคุมคุณภาพการบริการและ มาตรฐานสปาไทยได้ดีเท่าที่ควร รวมถึงปัญหาเรื่องการข้อวีซ่าให้คนไทย เข้าไปทำงานฯ ค่อนข้างยาก 15.4 ข้อเสนอแนะ การเจรจาเปิดเสรี ควรเจรจาให้ความสำคัญในเรื่องของ อุปสรรคและปัญหาการเข้าสู่ตลาดนั้นๆ ด้วย ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

31 มุมมองผู้ประกอบการต่อการเปิดเสรีการค้ากับ EFTA รายสินค้า/บริการ
16. การท่องเที่ยว 16.1 ตั้งธุรกิจท่องเที่ยวของผู้ประกอบการไทยใน EFTA ค่อนข้างจะมี โอกาศน้อยมาก ไม่สามารถแข่งขันกับผู้ประกอบการท้องถิ่นได้ ในทาง กลับกันนักธุรกิจจากกลุ่มประเทศ EFTA กลับต้องการที่จะเข้ามาลงทุน ในธุรกิจดังกล่าวฯ ในไทยมากกว่า ซึ่งจะส่งผลกระทบกับธุรกิจท่องเที่ยว ไทย อย่างมากทำให้มีคู่แข่งมากขึ้น 16.2 ข้อเสนอแนะ หากภาครัฐควรจะเน้นไปที่การสนับสนุนหรือโปรโมท ให้นักท่องเที่ยวจากกลุ่มประเทศสมาชิก EFTA เข้ามาท่องเที่ยวใน ประเทศจะได้ประโยชน์มากกว่าทึ่จะแข่งขันกันในเชิงการลงทุนด้านการ ท่องเที่ยว ที่มา: จากการสอบถามกลุ่มอุตสาหกรรมและสมาคมฯ ที่เกี่ยวข้อง ในสภาอุตสาหกรรมฯและสภาหอการค้าฯ

32 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ
หัวข้อการนำเสนอ FTA ไทย – EFTA : ประโยชน์ในภาพรวม 1 มุมมองเป็นรายกลุ่มสินค้า 2 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ 3

33 มาตรการเยียวยาและข้อเสนอแนะ
3

34 ตัวอย่างมาตรการเยียวยาที่ประสบความสำเร็จ
สมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย * ซึ่งได้รับความช่วยเหลือตามโครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า หรือ “กองทุน FTA กระทรวงพาณิชย์” (ปี พ.ศ ) เพื่อรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากการเขตการค้าเสรีไทย - เปรู 1. สมาชิกสมาคมฯ ได้รับการรับรอง GMP และ HACCP GMP: Good Manufacturing Practice (หลักเกณฑ์การปฎิบัติที่ดี) 50 ราย HACCP: Hazard Analysis and Critical Control Point (ระบบการการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิต) 35 ราย (ได้รับการรับรอง GMP ด้วย)

35 ตัวอย่างมาตรการเยียวยาที่ประสบความสำเร็จ
2. การรับรอง GMP และ HACCP เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้แก่อุตสาหกรรมปลาป่นด้านการส่งออก: ส่งผลให้ตลาดส่งออกกว้างขวางขึ้น สามารถส่งออกปลาป่นไปยังจีน เวียดนาม อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ได้ ด้านตลาดในประเทศ: ผู้ประกอบการอาหารสัตว์และอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องรับซื้อปลาป่นจากโรงงานที่ได้รับการรับรองมากขึ้น 3. เนื่องจากยังคงมีสมาชิกสมาคมฯ ที่เป็น SMEs อีกจำนวนหนึ่งยังไม่ได้รับการรับรองฯ ดังนั้น หากมาตรการเยียวยาฯ มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องจะเป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมปลาป่นและอุตสาหกรรมต่อเนื่องตลอดห่วงโซ่การผลิต ** ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ นายกสมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย (นายสงวนศักดิ์ อัครวรินทร์ชัย) มีนาคม 2555

36 2 ข้อเสนอแนะต่อการเจรจา EFTA... ปรับตัว 1 เจรจา
หารือกับประเทศคู่เจรจาเพื่อลด/ยกเลิกอุปสรรคทางการค้า ทั้งด้านภาษีและที่มิใช่ภาษีให้มากที่สุด เพื่อให้สินค้าไทยเข้าสู่ตลาดได้ดียิ่งขึ้น ยกตัวอย่าง ในกรอบ EFTA ควรหารือเพื่อลด/ยกเลิกภาษีพิเศษ (Price Compensation: PC) *ที่ EFTA เรียกเก็บกับสินค้าเกษตรนำเข้า เป็นต้น 2 ปรับตัว 2.1 เร่งพัฒนากฎระเบียบ/มาตรฐานของไทย เช่น มาตรฐานด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรฐานสินค้าการตรวจสอบรับรอง มาตรการด้านสิ่งแวดล้อม ฯลฯ เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคที่อาจได้รับความเสียหายจากสินค้านำเข้าที่มาตรฐานต่ำและให้สินค้าไทยเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติมากขึ้น 2.2 เสนอให้กองทุน FTA ปรับปรุงคุณสมบัติผู้ขอความช่วยเหลือให้ครอบคลุมตลอดทั้ง Supply chain ที่ได้รับผลกระทบ โดยให้รวมถึง (1) การจัดระบบหน่วยงานที่ดูแลงบประมาณของกองทุนให้ทั่วถึง (2) การติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของการให้เงินกองทุน (3) การประเมินผลจากผู้ขอความช่วยเหลือจากกองทุนว่าสามารถรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้าได้อย่างแท้จริง (4) ให้มีหน่วยงานให้คำปรึกษาและทำการเขียนขอโครงการ เป็นต้น (รวบรวมโดยสายงานองค์กรระหว่างประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) ภาษีพิเศษ (Price Compensation: PC) สำหรับสินค้าเกษตรแปรรูปที่มีส่วนผสมหรือส่วนประกอบทำมาจากวัตถุดิบเกษตร อาทิ ข้าว ข้าวโพดหวาน กาแฟ ซอส น้ำผลไม้และของปรุงแต่ง

37 การ F ส่ง นำ T ออก เข้า A ข้อเสนอแนะต่อภาครัฐ สำหรับ FTA ทุกกรอบ...
เป็นการเชื่อมโยง ทั้งวงจรของสินค้านั้นๆ เพื่อลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น ในภายหลัง ควรติดตามผู้ผลิต หลังจากได้รับ ความช่วยเหลือ ด้านกองทุนไปแล้ว ควรตั้งหน่วยงาน บริหารการนำเข้า สินค้า เพื่อป้องกันปัญหา การทะลักเข้ามาของสินค้า มีคุณภาพต่ำ ราคาถูกจาก ต่างประเทศ ปรับโครงสร้างภาษี สินค้าต้นน้ำให้ต่ำกว่า ปลายน้ำ เช่น อุตสาหกรรม ยานยนต์ ไฟฟ้าและ อิเล็คทรอนิกส์ จัดให้มีหน่วยงาน ให้คำปรึกษาและ ช่วยเหลือในการ เขียนโครงการ ถาวรเพื่อทำหน้าที่ ติดตามผลกระทบ จาก FTA ผลักดันและส่งเสริม การใช้สิทธิประโยชน์ จาก FTA ให้มากขึ้น สนง.พาณิชย์ใน ประเทศที่ทำ FTA ควรทำ Market Intelligence ที่เอื้อประโยชน์ ต่อนักธุรกิจไทย ปรับปรุงแก้ไขข้อตกลง FTA ที่ได้ทำไปแล้ว เพื่อให้เป็นประโยชน์ต่อไทยมากขึ้น (ทุก 5 ปี (TAFTA, TNZFTA)ทบทวนในปี 2551 (ACFTA)ภายใน10 ปีหรือแล้วแต่ตกลง (JTEPA)

38 Thank You !


ดาวน์โหลด ppt เตรียมพร้อม รองรับ ปรับตัว

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google