งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสัมมนาเชิงวิชาการ "โอกาสทางการค้าและการลงทุนในอเมริกาใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสัมมนาเชิงวิชาการ "โอกาสทางการค้าและการลงทุนในอเมริกาใต้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสัมมนาเชิงวิชาการ "โอกาสทางการค้าและการลงทุนในอเมริกาใต้
(บราซิล อาร์เจนตินา ชิลีและเปรู) โดย นายอภิรัฐ เหวียนระวี รองอธิบดีกรมอเมริกาและแปซิิฟิกใต้ กระทรวงการต่างประเทศ วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม 2550

2 ภาพรวมและความสำคัญของอเมริกาใต้

3 อเมริกาใต้ อุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรธรรมชาติ แร่ธาตุ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ สินค้าเกษตร เป็นผู้ผลิตและส่งออกสินค้าอาหารรายใหญ่ของโลก อาทิ อาร์เจนตินาส่งออกถั่วเหลืองเป็นอันดับ 3 ของโลก

4 ความสัมพันธ์ไทย-อเมริกาใต้

5 ลักษณะความสัมพันธ์ไทย-อเมริกาใต้
คสพ.การทูต 30 ประเทศในลาตินอเมริกา สอท.ของไทย 5 แห่ง : อาร์เจนตินา บราซิล ชิลี เม็กซิโก และเปรู ลาตินอเมริกามีสถานเอกอัครราชทูตในไทย 7 แห่ง ได้แก่ บราซิล อาร์เจนตินา ชิลี เปรู เม็กซิโก ปานามาและคิวบา

6 ชิลี เปรู บราซิล เมืองหลวง : กรุงบัวโนสไอเรส
อาร์เจนตินา ชิลี เมืองหลวง : กรุงบัวโนสไอเรส ประชากร : 39.9 ล้านคน พื้นที่ : 2.8 ล้าน ตร.กม. GDP per capita : US$ 5, GDP : US$ พันล้าน เมืองหลวง : กรุงซันติอาโก ประชากร : ล้านคน พื้นที่ : 756,950 ตร.กม. GDP per capita : US$7, GDP : US$ พันล้าน เปรู บราซิล เมืองหลวง : กรุงลิมา ประชากร : 28 ล้านคน พื้นที่ : 1.28 ล้าน ตร.กม. GDP per capita : US$2, GDP : US$ ล้าน เมืองหลวง : กรุงบราซิเลีย ประชากร : ล้านคน พื้นที่ : ล้าน ตร.กม GDP per capita : US$ 4, GDP : US$ พันล้าน

7 ความสัมพันธ์ทางการค้าไทย-อเมริกาใต้
การค้าระหว่างไทยกับอเมริกาใต้ : 1, ล้าน USD หรือ คิดเป็นร้อยละ 1.27 ของมูลค่าการค้าโลก แต่หากรวม Mexico อเมริกา กลาง แคริบเบียน จะมีมูลค่าการค้าประมาณ 4,773 ล้าน USD คู่ค้าสำคัญของไทย: บราซิล (อันดับ 1) เม็กซิโก (อันดับ 2) อาร์เจนตินา (อันดับ 3) ชิลี (อันดับ 4) เปรู (อันดับ 6) สัดส่วนของการค้า (2549) : คิดเป็น 1.27% ของการค้าของไทยกับ ทั่วโลก และมีอัตราขยายตัว 9.93%

8 สินค้านำเข้า-ส่งออกไทย-อเมริกาใต้
สินค้าออก (2549) 1. รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ 2. ยางพารา 3. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ 4. ผลิตภัณฑ์ยาง 5. น้ำมันดิบ 6. เครื่องยนต์สันดาปภายในแบบลูกสูบ สินค้าเข้า (2549) 1. พืชและผลิตภัณฑ์จากพืช 2. สินแร่โลหะอื่นๆ 3. เหล็กและเหล็กกล้า 4. สัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ 5. สัตว์น้ำสด แช่เย็นและแช่แข็ง 6. เครื่องจักรกลและส่วนประกอบ ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาน สนง.ปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

9 การลงทุนและการทำธุรกิจร่วมกัน
อาร์เจนตินา: โรงงานฟอกหนัง SADESA ที่จ.อยุธยา กระบินทร์บุรี และ แหลมฉบัง เม็กซิโก : บริษัท Cemex สนใจลงทุนด้านปูนซีเมนต์ (เป็นการลงทุน โดยตรงไม่ได้ขอสิทธิพิเศษจาก BOI) ชิลี : การจัดจำหน่ายไวน์ เปรู : บริษัท AjeThai ผลิตและจำหน่ายน้ำอัดลม “น้ำดำ” (Cola)

10 อุปสรรค/ปัญหาในด้านการค้าระหว่างไทย-อเมริกาใต้
ความสนใจระหว่างกันยังมีน้อย เนื่องจาก ระยะทางที่ห่างไกล ค่าใช้จ่ายทางด้านการเดินทางและขนส่งสูง การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและนโยบายด้านเศรษฐกิจที่มีความไม่แน่นอนในบางประเทศ ภาษา และ วัฒนธรรมที่ต่างกัน ซึ่งมีผลต่อการลดความสนใจและการขาดความเข้าใจด้านกฏระเบียบการค้า

11 ทิศทางนโยบายต่อภูมิภาคอเมริกาใต้

12 ทิศทางนโยบายต่อภูมิภาคอเมริกาใต้
สร้างกลไกให้อำนวยความสะดวกทางการค้าระหว่างกันเพื่อขยายตลาดการค้า แก้ไขอุปสรรคทางการค้า สร้างความเชื่อมั่นเพื่อประโยชน์ในการดำเนินความสัมพันธ์ทั้งทวิภาคีและพหุภาคี เพื่อเผยแพร่บทบาทและภาพพจน์ของไทยในฐานะประเทศผู้บริจาครายใหม่ (emerging donor) เพื่อเผยแพร่แนวทางการพัฒนาของไทยในเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง และ/ หรือ การพัฒนาทางเลือก เป็นตลาดใหม่ของไทย และแสวงหาวัตถุดิบ ส่งเสริมความร่วมมือในทุกมิติในลักษณะ Strategic partnership ขยายความร่วมมือและถ่ายทอดทาง เทคโนโลยีวิชาการ ผลักดันให้เป็นประตู (gateway) สำหรับไทยในการเข้าสู่ตลาดกลุ่ม Mercosur Andean ภูมิภาคลาตินอเมริกา รวมทั้งตลาดสหรัฐฯ แสวงหาความร่วมมือในสาขาที่สองฝ่ายมีความเชี่ยวชาญ

13 ความร่วมมือระหว่างทางเศรษฐกิจระหว่างสองภูมิภาค
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่เป็นรูปธรรมระหว่างไทย-อเมริกาใต้ และการดำเนินการที่ผ่านมา ความร่วมมือระหว่างทางเศรษฐกิจระหว่างสองภูมิภาค FEALAC (Forum for East Asia - Latin America Cooperation)

14 ขอขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt การสัมมนาเชิงวิชาการ "โอกาสทางการค้าและการลงทุนในอเมริกาใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google