งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยตนเอง โดยวิธีการแปรงฟัน ร่วมกับการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดย ทันตแพทย์สมศักดิ์ เลิศจีระจรัส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยตนเอง โดยวิธีการแปรงฟัน ร่วมกับการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดย ทันตแพทย์สมศักดิ์ เลิศจีระจรัส."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยตนเอง โดยวิธีการแปรงฟัน ร่วมกับการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดย ทันตแพทย์สมศักดิ์ เลิศจีระจรัส ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

2 ความสำคัญและที่มาของการวิจัย
ความสำคัญและที่มาของการวิจัย การดำเนินงานทันตสาธารณสุขที่ผ่านมา ในกลุ่มนักเรียนประถมศึกษายังไม่สามารถควบคุม การเกิดเหงือกอักเสบและโรคฟันผุได้อย่างมีประสิทธิภาพ การดำเนินงานทันตสาธารณสุขมักเป็นบทบาทหน้าที่ของทันตบุคลากรเป็นหลัก ความตระหนักที่จะดูแลสุขภาพด้วยตนเองและสามารถทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ น่าจะนำไปสู่การมีสุขภาพช่องปากที่ดีแบบยั่งยืน

3 วัตถุประสงค์ของการวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาผลการควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยตนเองโดยวิธีการแปรงฟันร่วมกับการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์

4 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โรคฟันผุและโรคปริทันต์มีสาเหตุสำคัญจากคราบ จุลินทรีย์ซึ่งสามารถกำจัดได้ด้วยการแปรงฟันที่มีประสิทธิภาพ การใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์จะเป็นการกระตุ้น การเรียนรู้ในการกำจัดแผ่นคราบจุลินทรีย์และประเมินการ ทำความสะอาดฟันของตนเองว่ามีประสิทธิภาพมากเพียงใด

5 เด็กวัย ปี เริ่มมีความรับผิดชอบ สามารถเรียนรู้และแปรงฟันได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังพบว่าเด็กที่แปรงฟันหลังอาหารกลางวัน ที่โรงเรียนร่วมกับการใช้เม็ดสีสัปดาห์ละ 1 ครั้ง จะทำความสะอาดฟันได้ดีกว่ากลุ่มที่แปรงฟันเพียงอย่างเดียว

6 วัสดุและวิธีการ 1. เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง 2
วัสดุและวิธีการ 1. เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง 2. กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมปี่ที่ 5 ซึ่งคัดเลือก แบบเฉพาะเจาะจงใน 5 โรงเรียน จำนวน 138 คน โดยกำหนดโรงเรียนที่มีสภาพต่างๆใกล้เคียงกัน 3. จัดแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม

7 กลุ่มที่ 1 1. ได้รับการสอนทันตสุขศึกษาและการใช้เม็ดสี 2
กลุ่มที่ ได้รับการสอนทันตสุขศึกษาและการใช้เม็ดสี 2. ได้รับเม็ดสีคนละ 8 เม็ด เพื่อไปฝึกเองที่บ้าน โดยใช้สัปดาห์ละ 1 ครั้งๆ ละ 1 เม็ด 3. การใช้เม็ดสีที่บ้าน นักเรียนแต่ละคนดูแลและดำเนินการด้วยตนเอง

8 กลุ่มที่ 2 ได้รับเฉพาะทันตสุขศึกษาในเนื้อหาที่เหมือนกับ กลุ่มที่ 1 เท่านั้น กลุ่มที่ 3 ไม่มีการใส่ปัจจัยใดๆ ทุกกลุ่มยังคงดำเนินงานอื่นๆ ตามปกติเหมือนที่เคยปฏิบัติ

9 ย้อมสีแผ่นคราบจุลินทรีย์ทั้ง 3 กลุ่ม แล้วตรวจในฟัน ซี่โดยใช้ดัชนี PHP เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นก่อนเริ่มดำเนินการ แล้วจึงเก็บข้อมูลซ้ำหลังจากดำเนินการไปแล้ว 1, 2 และ 4 เดือน ทำการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย

10 ผลการวิจัย

11 ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศ
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามเพศ กลุ่ม ชาย หญิง รวม จำนวน ร้อยละ 1 19 38.0 31 62.0 50 100.0 2 29 60.4 39.6 48 3 47.5 21 52.5 40 67 48.6 71 51.4 138

12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตารางที่ 2 อายุเฉลี่ย จำแนกตามกลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม อายุเฉลี่ย (ปี) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1 11.31 0.40 2 11.34 0.59 3 11.17 0.38 รวม 11.28 0.47

13 ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ย PHP และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) จากการตรวจครั้งที่ 1
(PHP1), ครั้งที่ 2 (PHP2), ครั้งที่ 3 (PHP3) และครั้งที่ 4 (PHP4) จำแนกตามกลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม ค่าเฉลี่ย PHP (SD) PHP1 PHP2 PHP3 PHP4 1 3.33 (0.59) 2.69 (0.57) 2.37 (0.71) 2.02 (0.58) 2 3.43 (0.57) 3.04 (0.60) 3.12 (0.65) 3.25 (0.62) 3 3.48 (0.63) 3.52 (0.42) 3.36 (0.39) 3.22 (0.52)

14 ตารางที่ 4 ทดสอบการกระจายของข้อมูลแบบโค้งปกติ (Normal Distribution) ของค่า PHP
จำแนกตามครั้งที่ตรวจและกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้สถิติ Kolmogorov-Smirnov Test ครั้งที่ตรวจ PHP กลุ่ม Kolmogorov-Smirnov ค่าสถิติ องศาอิสระ ค่านัยสำคัญ PHP1 1 0.127 50 0.064 2 0.133 48 0.050 3 0.101 40 0.200 PHP2 0.109 0.168 0.003* 0.195 0.001* PHP3 0.083 0.160 0.006* 0.113 PHP4 0.189 0.000* 0.108 0.121 0.191

15 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย PHP ระหว่างทั้ง 3 กลุ่ม
จำแนกตามครั้งที่ตรวจ โดยใช้สถิติ Kruskal-Wallis Test ครั้งที่ตรวจPHP กลุ่ม ค่าสถิติ องศาอิสระ ค่านัยสำคัญ PHP1 1 1.216 2 0.544 3 PHP2 42.192 0.000* PHP3 47.165 PHP4 68.842

16 ตารางที่ 6 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย PHP ระหว่างกลุ่ม จำแนกตามครั้งที่ตรวจ
โดยใช้สถิติ Mann-Whitney U Test ครั้งที่ตรวจ ระหว่างกลุ่ม ค่า Z ค่านัยสำคัญ PHP1 1 , 2 -0.764 0.445 1 , 3 -1.041 0.298 2 , 3 -0.383 0.702 PHP2 -2.479 0.013* -6.353 0.000* -4.263 PHP3 -4.938 -6.339 -2.502 0.012* PHP4 -7.176 -6.955 -0.35 0.727

17 ตารางที่ 7 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย PHP ทั้ง 4 ครั้ง จำแนกตามกลุ่ม
โดยใช้สถิติ Friedman Test กลุ่ม สถิติ Chi-Square องศาอิสระ ค่านัยสำคัญ 1 3 0.000* 2 24.752 10.585 0.014*

18 โดยใช้สถิติ Wilcoxon Signed Rank Test
ตารางที่ 8 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย PHP ระหว่างแต่ละครั้งที่ตรวจ จำแนกตามกลุ่ม โดยใช้สถิติ Wilcoxon Signed Rank Test กลุ่ม ระหว่างครั้ง ค่า Z ค่านัยสำคัญ 1 PHP1 , PHP2 -5.815 0.000* PHP1 , PHP3 -5.584 PHP1 , PHP4 -6.091 PHP2 , PHP3 -4.086 PHP2 , PHP4 -5.856 PHP3 , PHP4 -4.623 2 -4.536 -3.269 0.001* -1.492 0.136 -1.165 0.244 -3.236 -1.9 0.057 3 -0.041 0.967 -1.300 0.194 -2.330 0.020* -1.939 0.052 -3.098 0.002* -1.854 0.064

19 สรุปและวิจารณ์ผล ก่อนเริ่มดำเนินการ ค่าเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ทั้ง 3 กลุ่ม ไม่แตกต่างกัน แต่เมื่อดำเนินการไปแล้วพบว่ากลุ่มที่ 1 ซึ่ง มีการใช้เม็ดสีมีค่าเฉลี่ยคราบจุลินทรีย์ที่ลดลงอย่างต่อเนื่องถึงแม้จะสิ้นสุดการใช้เม็ดสีไปแล้ว 2 เดือน

20 เด็กในวัย 10-12 ปีมีศักยภาพในการดูแลตนเอง
หากได้รับการดูแลและสนับสนุนที่เหมาะสม การใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์ช่วยเสริมให้การแปรงฟัน มีประสิทธิภาพ ภายใต้แนวคิดการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง.

21


ดาวน์โหลด ppt การควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยตนเอง โดยวิธีการแปรงฟัน ร่วมกับการใช้เม็ดสีย้อมคราบจุลินทรีย์ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดย ทันตแพทย์สมศักดิ์ เลิศจีระจรัส.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google