งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2 อาเซียนศึกษาทำอะไร ศึกษา วิจัยและนำเสนอความรู้ ต่างๆเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียน โดยดูจาก องค์ประกอบของรัฐชาติ (การเมือง)

3 2. และเหนือรัฐชาติ คือทางภูมิศาสตร์ ประชากรศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจการผลิต

4 แบบแรก ในกรอบทางการเมืองและสถาบัน
ห้องสมุดรวบรวมเอกสาร ชั้นต้น และชั้นรอง ของสถาบันทาง การเมืองที่เป็นหลักในการ กำหนดนโยบายและการปฏิบัติ นโยบาย เช่น นโยบายรัฐบาล พรรค การเมือง สภาอุตสาหกรรม องค์กรเกษตรกรรม องค์พัฒนา เอกชนทั้งหลาย กรอบเวลาเอาจากปัจจุบัน ค่อยๆย้อนหลังไปสู่จุดเริ่มแรก

5 รายงานผลการปฏิบัติงาน
รัฐ กระทรวง จังหวัด การนำนโยบายไปปฏิบัติ ดูการ ทำงานของกระทรวง ไปถึง หน่วยงานหลักๆในประเด็น นโยบายนั้นๆ ผลของการ ปฏิบัติงาน เอกสารได้แก่ รายงานประจำปีของกระทรวง กรมกองต่างๆ สถิติตัวเลขต่างๆ

6 แบบที่สอง ไม่ผูกติดกับหน่วยทางการเมืองที่เป็นสถาบัน
หัวข้อและเนื้อเรื่องอาจกระจัดกระจาย และกรอบเวลาอาจยาวมาก ห้องสมุด อาจกำหนดหัวข้อและกรอบเวลาจาก ความเหมาะสมของตนเอง เช่น ห้องสมุดในภาคใต้อาจมุ่งไปทาง ภูมิศาสตร์ของภาคพื้นทะเล มาเลย์เซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และบรูไน ท้องถิ่นมีความสนใจและศักยภาพใน ประเด็นอะไรไหม ในมหาวิทยาลัย คณะ ภาควิชาไปถึงคณาจารย์ว่ามี ความสนใจ ความถนัด ความสามารถ ในเรื่องอะไร ก็อาจเริ่มจากเรื่อง เหล่านั้น แล้วค่อยไปขยายต่อยอดไป ยังเรื่องอื่นๆต่อไป

7 ประสบการณ์ในการใช้ห้องสมุดเอเชียสำหรับการค้นคว้าและวิจัย
อ่านหนังสือพิมพ์ เอกสาร หนังสือใน สมัยก่อน เป็นการค้นจากเอกสาร ชั้นต้น เป็นฐานของห้องสมุดวิจัยที่ ต้องมี การรวบรวมเอกสาร ห้องสมุด อาศัยการแนะนำและช่วยเก็บจาก นักวิชาการ อาจารย์ในคณะและ ภาควิชาที่ไปลงพื้นที่ สามารถนำมา บอกได้ว่าอะไรอยู่ที่ไหน หามาได้ อย่างไร

8 ประการต่อมาคือการค้นและอ่าน จากหลักฐานชั้นรองทั้งหลาย คือ หนังสือ บันทึกความทรงจำ แปล ไป ถึงวิทยานิพนธ์ ที่มีคนศึกษาเรื่อง เหล่านั้นไว้ก่อนแล้ว ให้ได้มากและ ครบถ้วนที่สุด เป็นงานที่ใช้เวลา อุตสาหะ แต่จะเกิดผลในที่สุด

9 การเก็บสะสมข้อมูล ประวัติจอห์น เอโคล์ และเดวิด วัยอาจ กับการทำห้องสมุดเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ที่คอร์แนล

10 การทำให้แหล่งสารสนเทศท้องถิ่นเป็นแหล่งเรียนรู้ระดับชาติ
จัดกิจกรรมการวิจัย ค้นคว้า เชิญหรือให้ทุนแก่นักวิจัยที่ต่างๆมานั่งทำงานใน ท้องที่ เช่น ห้องสมุดนิวยอร์ก ห้องสมุดคองเกรส ห้องสมุดแห่งชาติแคนเบอ รา เป็นต้น

11 กิจกรรม: วิจัย ศึกษา ค้นคว้า อภิปราย
ติดต่อให้นักศึกษา นักวิจัยจาก ภูมิภาคมาทำงานเกี่ยวกับ เอกสารหรือชุดเอกสารของ ประเทศนั้นๆ เช่นเรื่องอินโดนีเซีย อิสลาม ให้นส.จากอินโดหรือ มาเลย์เซียมาทำเป็นต้น Collection Archives Manuscripts Papers………….

12 บุคลากร: การส่งเสริมบุคลากรและ มาตรฐานการดำเนินงานของ สมาชิก ผ่านการทำงานและ เรียนรู้ร่วมกับนักวิจัยภายนอก อีก ด้านคือ แลกเปลี่ยนกับห้องสมุด อื่นๆ


ดาวน์โหลด ppt “ห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนภูมิภาคกับการรวบรวม จัดเก็บและให้บริการทรัพยากรสารสนเทศเฉพาะทางด้านอาเซียนศึกษา” รศ.ดร. ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google