งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดนครศรีธรรมราช

2 บทบาทหน้าที่ กรมส่งเสริมสหกรณ์
ส่งเสริม , สนับสนุนสหกรณ์ 2. คุ้มครองระบบสหกรณ์ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.2550 มาตรา 84 (9) “รัฐ ส่งเสริม สนับสนุน และคุ้มครองระบบสหกรณ์ให้เป็นอิสระ...”

3 การคุ้มครองโดย กสส. นายทะเบียนสหกรณ์ รองนายทะเบียนสหกรณ์
ผู้ตรวจการสหกรณ์

4 อำนาจหน้าที่ผู้ตรวจการสหกรณ์
1. เชิญ มาชี้แจงข้อเท็จจริง ให้ส่งเอกสาร (ม.17) 2. เข้าไปตรวจสอบสำนักงานสหกรณ์ ในเวลาทำการ (ม.18) 3. ตรวจสอบกิจการและฐานะการเงินสหกรณ์ (ม.19)

5 ขั้นตอนการปฏิบัติตาม ม.19
1. นายทะเบียนสหกรณ์ - ออกคำสั่งมอบหมายให้มีผู้ตรวจการประจำสหกรณ์ 2. ผู้ตรวจการสหกรณ์ - จัดทำแผนการตรวจการสหกรณ์ - เสนอแผนการตรวจการสหกรณ์ 3. ดำเนินการตรวจการสหกรณ์ 4. รายงานผลการตรวจการสหกรณ์ 5. นายทะเบียนสหกรณ์พิจารณารายงาน 6. ติดตามกรณีที่นายทะเบียนสหกรณ์สั่ง

6 กระบวนการตรวจการสหกรณ์
การเตรียมการก่อนตรวจการสหกรณ์ ดำเนินการตรวจการสหกรณ์ รายงานผลการตรวจการสหกรณ์ ติดตามผลการตรวจการสหกรณ์

7 การเตรียมการก่อนตรวจการสหกรณ์
(1) ศึกษากฎหมายสหกรณ์ ศึกษากฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง (3) ศึกษาข้อบังคับของสหกรณ์ (4) ศึกษาระเบียบของสหกรณ์ (5) รายงานผู้สอบบัญชี (6) สัญญาณเตือนภัย/ลางบอกเหตุ (7) เบาะแส การไม่ให้ความร่วมมือ แฟ้ม 19 รายการ

8 การจัดทำและรายงานผล การตรวจการสหกรณ์
ทำตามแบบ พบข้อบกพร่องต้องมีหลักฐานชัดเจน รายงานไม่ผูกมัดตัวเอง เขียนให้แคบ รายงานโดยเร็ว

9 นายทะเบียนสหกรณ์พิจารณา
ไม่พบข้อบกพร่อง (ทราบ) พบข้อบกพร่องเล็กน้อย (กำกับตาม ม.16 (1)) พบข้อบกพร่องสำคัญ (สั่งเพิกถอนมติตาม ม.20) (สั่งแก้ไขตาม ม.22 (1)) (สั่งระงับบางส่วน ม.22 (2)) (สั่งหยุดปฏิบัติชั่วคราว ม.22 (3)) (ให้พ้นจากตำแหน่ง ม.22 (4))

10 เหตุเกิดที่ จ.นครศรีฯ กรณี สบ.เคหสถานบ้านมั่นคงเกาะเพชรเมืองใหม่ จก.
กรณี สบ.เคหสถานบ้านมั่นคงเกาะเพชรเมืองใหม่ จก. - ผู้สอบบัญชีตรวจพบว่าเงินสดขาดบัญชี - ผู้ตรวจการเข้าตรวจสอบ กำหนดตัวผู้รับผิดชอบ - รายงาน นทส. , นทส.ออกคำสั่งตาม ม. 22 (1) - สหกรณ์ไม่แก้ไข รองนทส. ดำเนินคดีตาม ม.21 - ให้ประธานกรรมการพ้นจากตำแหน่ง ตาม ม. 22 (4)

11 - พนักงานอัยการดำเนินคดีต่อ - นายทะเบียนสหกรณ์สั่งเลิกสหกรณ์
- อดีตประธานยอมรับชำระในศาลแต่ไม่ชำระ - พนักงานอัยการดำเนินคดีต่อ - นายทะเบียนสหกรณ์สั่งเลิกสหกรณ์ - สหกรณ์อุทรณ์ - คพช. ยกอุทรณ์

12 2. กรณีของสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด
2. กรณีของสหกรณ์นิคมทุ่งสง จำกัด - กรรมการและผอ.นิคมพบข้อบกพร่อง แจ้งผู้ตรวจการสหกรณ์ - ผู้ตรวจการเข้าตรวจสอบแล้วรายงาน นทส. - นทส. สั่งให้สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง - สหกรณ์แก้ไขตามคำสั่งนายทะเบียนสหกรณ์ - ขณะนี้คดีอยู่ในชั้นศาล

13 3. กรณี สกก.ร่อนพิบูลย์ จำกัด
3. กรณี สกก.ร่อนพิบูลย์ จำกัด - ผู้ตรวจการสหกรณ์และเจ้าหน้าที่กลุ่มจัดตั้งเข้า ตรวจสอบแล้วรายงาน นทส. - นทส. ออกคำสั่งให้สหกรณ์แก้ไขข้อบกพร่อง สหกรณ์ไม่แก้ไข - นทส. ร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวน ฝ่าฝืนไม่แก้ไข ข้อบกพร่อง - นทส. ให้คณะกรรมการฯ ทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง ตั้ง ชุดใหม่แทน - คณะกรรมการชั่วคราวแก้ไขข้อบกพร่องตามคำสั่ง นทส.

14 4. กรณีของ สกย.จันดี จำกัด
4. กรณีของ สกย.จันดี จำกัด - สหกรณ์ส่งงบการเงินปีบัญชีสิ้นสุด 31 มี.ค. 55 - เงินยืมทดรอง 4.3 ล้านบาท - ร่วมประชุมคณะกรรมการดำเนินการ - ผู้ทำให้สหกรณ์เสียหายรับผิดชอบชดใช้ - คณะกรรมการลงโทษตามระเบียบ

15 5. กรณีของ สกย.บ้านควนมุด จำกัด
- เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสหกรณ์ผู้รับผิดชอบแจ้งเบาะแส - ผู้ตรวจการสหกรณ์เข้าตรวจการสหกรณ์ - ผู้ตรวจการสหกรณ์รายงานผลการตรวจการต่อ นทส. - นายทะเบียนสหกรณ์พิจารณาสั่งให้สหกรณ์แก้ไข ข้อบกพร่อง (โดยจดหมายลงทะเบียน) - สหกรณ์และผู้รับผิดชอบไม่แก้ไขข้อบกพร่อง

16 กรณีของ สกย.บ้านควนมุด จำกัด (ต่อ)
- รอง นทส. ร้องทุกข์กับพนักงานสอบสวนแทนสหกรณ์ - พนักงานสอบสวนรับคำร้องทุกข์ สอบสวนผู้กล่าวหาและ ผู้ถูกกล่าวหา - ผู้ถูกกล่าวหายอมรับชดใช้เงินคืนสหกรณ์ - รอง นทส. ถอนคำร้องทุกข์

17 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt การตรวจการสหกรณ์ ไพฑูรย์ ชนะชู นักวิชาการสหกรณ์ชำนาญการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google