งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault

3 อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault

4 อินเดีย 26 มกราคม 2544, M 7.7 Kachchh Mainland Fault

5 17 มกราคม 2538 M 7.2 Nojima Fault

6

7 สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว
เกิดจากการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน เนื่องจากการปลดปล่อยพลังงานเพื่อระบายความเครียดที่สะสมไว้ภายในเปลือกโลกออกมาอย่างฉับพลันเพื่อปรับสมดุลย์ของโลกให้เข้าที่ ส่งผลให้แผ่นดินแตก และเคลื่อนออกจากกัน ซึ่งเรียกว่า รอยเลื่อน (Fault) นอกจากนี้มาจาก ขบวนการเกิดภูเขาไฟระเบิด หรืออุกกาบาตตกกระแทกผิวโลก และเกิดจาก การกระทำของมนุษย์ เช่น การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ หรือการเก็บกักน้ำเหนือเขื่อน

8 * KOBE Epicenter N

9

10 พ.ศ.2088 ที่เชียงใหม่ ยอดเจดีย์หลวงหัก

11 รอยเลื่อนแม่กวง รอยเลื่อนแม่ทา

12 รอยเลื่อนปัว

13 รอยเลื่อนเถิน กม.28 ถนนลำปาง - แม่เมาะ

14 1957 Gobi-Attay Earthquake, Bogd Fault

15 San Andreas Fault, USA

16 ศูนย์กลางแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน จุดกำเนิดแผ่นดินไหว
รูปแบบของคลื่นแผ่นดินไหว ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว ระนาบรอยเลื่อน เปลือกโลกเลื่อนขาดออกจากกัน ปลดปล่อยพลังงานออกมาในรูปของคลื่น

17 (ศูนย์กลางแผ่นดินไหว)
(จุดกำเนิดแผ่นดินไหว)

18

19 แผ่นเปลือกโลก เนื้อโลก ใจกลางโลก

20 เปลือกทวีป เปลือกสมุทร

21 แผ่นเปลือกโลก

22 รอยต่อแผ่นเปลือกโลก เคลื่อนที่ออกจากกัน เคลื่อนที่สวนกัน
เคลื่อนที่เข้าหากัน

23 เปลือกสมุทร-เปลือกทวีป
เปลือกสมุทร-เปลือกสมุทร เคลื่อนที่สวนกัน ของเปลือกทวีป เปลือกทวีป-เปลือกทวีป

24 กระแสการพาความร้อน (Convection currents)

25 การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลก (ซม./ ปี)

26 วงแหวนไฟ

27 ชนิดของรอยเลื่อน หน้าผารอยเลื่อน แนวรอยเลื่อน รอยเลื่อนแนวราบ
ศูนย์กลางแผ่นดินไหว จุดกำเนิดแผ่นดินไหว รอยเลื่อนปกติ ระนาบรอยเลื่อน รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำ

28 รอยเลื่อนซ้ายเข้า รอยเลื่อนขวาเข้า

29 รอยเลื่อนแม่จัน

30 ความร้ายแรงของแผ่นดินไหว (The Severity of an Earthquake)
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว (Intensity) ขึ้นอยู่กับผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อความรู้สึกของคน ต่อความเสียหายของอาคารและสิ่งก่อสร้าง และต่อสิ่งของธรรมชาติต่าง ๆ ความรุนแรงจะมากน้อยแตกต่างกันไปในแต่ละแห่งที่ถูกรบกวน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของผู้สังเกตว่าอยู่ห่างไกลจากตำแหน่งศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter) มากน้อยเพียงใด

31

32 ขนาดของแผ่นดินไหว (Magnitude) เกี่ยวข้องกับปริมาณของพลังงานซึ่งถูกปล่อยออกมา ณ ตำแหน่งจุดกำเนิดแผ่นดินไหว (Hypocenter) ค่าขนาดแผ่นดินไหวนี้ขึ้นอยู่กับความสูงของคลื่นแผ่นดินไหว (Amplitude) ที่บันทึกได้ด้วยเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismograph) ดังนั้นขนาดแผ่นดินไหวแต่ละครั้งจึงมีได้เฉพาะค่าเดียวซึ่งได้จากการตรวจจับด้วยเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหวเท่านั้น

33 Charles F. Richter

34 เครื่องมือวัดแผ่นดินไหว
วัดแผ่นดินไหวในแนวดิ่ง วัดแผ่นดินไหวในแนวราบ

35 (คลื่นภายในโลก) คลื่นแผ่นดินไหว (คลื่นผิวโลก)

36 ลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหวในดินที่ต่างกัน

37

38

39

40

41 C B A B C A

42 สูตรที่ใช้คำนวณ M = log A- log Ao เมื่อ M เป็นขนาดแผ่นดินไหว

43 M = log log 0.001 = 2-(-3) = 5

44

45

46

47

48 พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
ในประเทศไทย


ดาวน์โหลด ppt ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google