งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ
เรื่อง ลมฟ้าอากาศ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความดันอากาศ ลม ความชื้น เมฆและฝน (องค์ประกอบของ ลมฟ้า อากาศ) จะส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น พายุฟ้าคะนอง พายุหมุนเขตร้อน มรสุม

2 การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า
พายุฟ้าคะนอง การเกิดฟ้าแลบ ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า + - - เมฆคิวมูโลนิมบัส + ฟ้าแลบ - + ฟ้าผ่า + พื้นโลก เรื่องจริงผ่านจอ + +

3 พายุหมุนเขตร้อน

4 ในซีกโลกเหนือพายุจะพัดเวียนทวนเข็มนาฬิกา
ในซีกโลกใต้พายุจะพัดเวียนตามเข็มนาฬิกา

5

6 พายุหมุนเขตร้อนมีความรุนแรงหรืออัตราเร็ว ลมมากที่สุดที่บริเวณ “ใกล้ศูนย์กลางพายุ” แต่ตรงบริเวณศูนย์กลางพายุที่ เรียกว่า “ตาพายุ” จะมีลมอ่อน การแบ่ง ประเภทพายุหมุนเขตร้อนตามอัตราเร็วลม

7 อัตราเร็วลมรอบจุดศูนย์กลาง
กิโลเมตร/ ชั่วโมง พายุ ต่ำกว่า 63 ดีเปรสชั่น ตั้งแต่ โซนร้อน มากกว่า 117 ไต้ฝุ่น

8 อัตราเร็วลมมากกว่า 117 กิโลเมตร/ชั่วโมง ไต้ฝุ่น
เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตก เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออก เกิดในมหาสมุทรอินเดีย เฮอริเคน ไซโคลน

9 มรสุม ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิอากาศ เหนือทวีปกับมหาสมุทร เรียกว่า มรสุม

10 มรสุมในฤดูหนาวและฤดูร้อน

11 อุณหภูมิเหนือทวีปต่ำความกดอากาศสูง
อุณหภูมิเหนือมหาสมุทรสูงความกดอากาศต่ำ

12 อุณหภูมิเหนือทวีปสูงความกดอากาศต่ำ
อุณหภูมิเหนือมหาสมุทรต่ำความกดอากาศสูง

13

14 การพยากรณ์อากาศ เป็นการคาดคะเนสภาพลมฟ้าอากาศที่ เกิดขึ้นล่วงหน้าจากการเฝ้าสังเกต บันทึก วิเคราะห์ข้อมูลแล้วนำมาจัดทำแผนที่อากาศ เพื่อป้องกันภัยที่อาจเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของลมฟ้าอากาศในแต่ละวัน

15 แผนที่อากาศ

16 ตัวเลขบนแผนที่ แสดงถึงค่าความดันอากาศ (หน่วยเป็นเฮคโตปาสคาล) เส้นที่ลากบนแผนที่คือ เส้นความดันอากาศเท่า จะลากผ่านจุดที่มีความดันอากาศเท่ากัน อักษร H คือ ศูนย์กลางของบริเวณ ความดันอากาศสูง อักษร L คือศูนย์กลางบริเวณ ความดันอากาศต่ำ

17 คำถาม ความดันอากาศที่ผ่านประเทศไทยมีค่าเท่าใด
ตอบ มีเส้นความดันอากาศลากผ่าน 3 เส้นคือ 1004,1006,1008 เฮคโตปาสคาล

18 เอลนีโญ-ลานีญา เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้สภาพลมฟ้าอากาศ ของโลกเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม เช่น เคย แห้งแล้งเปลี่ยนเป็นฝนตกมากขั้น หรือ อากาศหนาวมากขึ้นกว่าเดิม

19

20

21 น้ำระเหยน้อย ทำให้เมฆก่อตัวได้ยาก ทำให้ฝนตกน้อย
แปซิฟิก ต.อ อุณหภูมิ(T) ต่ำ สภาวะปกติ น้ำระเหยน้อย ทำให้เมฆก่อตัวได้ยาก ทำให้ฝนตกน้อย น้ำระเหยมาก ทำให้เมฆก่อตัวได้มาก ทำให้ฝนตกมาก แปซิฟิก ต.ต อุณหภูมิ(T) สูง

22 สภาวะลานีญา แปซิฟิก ต.อ T ต่ำกว่าปกติ แปซิฟิก ต.ต T สูงกว่าปกติ

23 แปซิฟิก ต.อ T สูง แปซิฟิก ต.ต T ต่ำ
สภาวะเอลนีโญ แปซิฟิก ต.อ T สูง แปซิฟิก ต.ต T ต่ำ

24  = ฝนชุก แห้งแล้ง ลานีญา แห้งแล้ง ฝนชุก ปกติ ปกติ
แห้งแล้ง ฝนชุก เอลนีโญ ปกติ ปกติ ฝนมากกว่าปกติ แล้งมากกว่าปกติ =

25 เอลนีโญ ฝนมาก ฝนจะน้อยลง (ตรงข้าม ) แห้งแล้งกลับมีฝน ลานีญา ฝนมาก ยิ่งตกมากขึ้น (มากขึ้น) แห้งแล้ง ยิ่งแห้งแล้งขึ้น

26 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิอากาศของโลก
การเกิดสินามิในประเทศไทย ปรากฏการเรือนกระจก

27 มลพิษทางอากาศ แบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งกำเนิด
แบ่งเป็น 2 ประเภท ตามแหล่งกำเนิด 1.แหล่งกำเนิดมลพิษจากธรรมชาติ จากโรงงานอุตสาหกรรม ,ไฟป่า 2.จากมนุษย์ จากควันบุหรี่ , รถยนต์

28 มลพิษมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
-อันตรายต่อปอด -ทำให้อ่อนเพลีย -ปวดศีรษะ -ระคายคอ แสบตา -ทำให้เป็นมะเร็ง -ฝนกรดทำให้เป็นอันตรายต่อพืชและสัตว์

29 ฝนกรด กรด กลาง เบส (5-6) ฝนกรด

30


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 2 เรื่อง ลมฟ้าอากาศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google