งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

2 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.2551 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ 2551

3 ภัยคุกคาม เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น ปัญหา เส้นเขตแดน
ปัญหา ยาเสพติด การรุกล้ำอธิปไตย ปัญหา เส้นเขตแดน แรงงาน ต่างด้าว กระทำผิด พ.ร.บ.ต่างๆ ภัยคุกคาม กลุ่ม ผลประโยชน์ ลักลอบทำลาย ธรรมชาติ ปัญหาพื้นฐาน ของ ปชช. ภัยธรรมชาติ ปัญหา การก่อการร้าย 3

4 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น ความมั่นคงของชาติ ภัยคุกคาม รูปแบบใหม่ ความ จำเป็น กฎหมายพิเศษ ด้านความมั่นคง วิถีชีวิตของประชาชน

5 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น กระทบต่อสิทธิเสรีภาพ ของประชาชน กฎหมายพิเศษ ด้านความมั่นคง ความ มั่นคง สิทธิ เสรีภาพ เปรียบเทียบ มีความคุ้มค่าและยอมรับได้

6 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
เหตุผล/ความจำเป็น เหตุผล/ความจำเป็น ประเทศสหรัฐฯ มีหน่วยงาน Home Land Defense กฎหมายความมั่นคง คือ Patriot Act ประเทศอังกฤษ, มาเลเซีย และสิงคโปร์ กฎหมายด้านความมั่นคง ISA (Internal Security Acts)

7 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ เป็นกฎหมายเพื่อให้ กอ.รมน. มีสถานะหน่วยงานราชการเช่นเดียวกับ กระทรวง ทบวง กรม ต่าง ๆ โดยสามารถอำนวยการและแก้ไขปัญหาความมั่นคงได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และจะทำให้กำลังพลที่ปฏิบัติงานใน กอ.รมน. มีสิทธิ อัตรา และตำแหน่งใน กอ.รมน. รองรับ ซึ่งจะทำให้มีขวัญ กำลังใจ ในการปฏิบัติงาน รวมทั้งได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากรัฐบาลเป็นงบประจำ (Function)

8 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ เป็นกฎหมายรองรับการปฏิบัติงานของ กอ.รมน. รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงาน ใน กอ.รมน. เพื่อใช้ในการปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายใน ซึ่งได้รับมอบภารกิจจากรัฐบาลผ่านทางสภาความมั่นคงแห่งชาติ พ.ร.บ.ฯ ดังกล่าว จะกำหนดอำนาจ หน้าที่ให้กับ กอ.รมน. ในการอำนวยการ และประสานงานหน่วยงานด้านความมั่นคงของรัฐในยามปกติ และสามารถ ควบคุมหน่วยงานด้านความมั่นคงของรัฐอื่น ๆ ได้ เมื่อประกาศเขตพื้นที่รักษา ความมั่นคงภายใน

9 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ เป็นกฎหมายพิเศษด้านความมั่นคง เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาความมั่นคงภายใน แทน/ร่วมกับกฎหมายพิเศษอื่น ๆ เช่น พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ และ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ โดยมีระดับการใช้อำนาจหน้าที่ต่ำกว่า พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ ฉุกเฉินฯและกฎอัยการศืกฯ

10 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ กรอบแนวความคิดของ พ.ร.บ.ฯ สามารถรองรับการปฏิบัติงานของหน่วยและเจ้าพนักงาน มีการถ่วงดุลอำนาจที่มีความเหมาะสม และกระทบต่อสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนน้อยที่สุด ใช้ในการปฏิบัติงานรักษาความมั่นคงภายใน ทดแทนการประกาศกฎอัยการศึก

11 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ นรม. เป็น ผอ.รมน. ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน. มทภ. เป็น ผอ.รมน.ภาค ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน.ภาค ผวจ. เป็น ผอ.รมน.จว. ควบคุมการดำเนินงานของ กอ.รมน.จว.

12 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ การปฏิบัติงานภายใต้ พ.ร.บ.ฯ มีบทบาทเป็นองค์กรกลางในการอำนวยการและประสานการปฏิบัติในการนำ นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงของรัฐ และวาระเร่งด่วนแห่งชาติไปสู่การ ปฏิบัติ การดำเนินงานนั้นจะปฏิบัติงานภายใต้กรอบแนวทาง การปฏิบัติและกำกับดูแล โดยคณะกรรมการรักษาความมั่นคงภายใน กอ.รมน. เป็นหน่วยงานในสำนักนายกรัฐมนตรี โดยข้าราชการที่ปฏิบัติงานใน กอ.รมน. จะมีทั้งข้าราชการผสม พลเรือน ตำรวจและทหาร

13 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ยามปกติ กอ.รมน. จะทำหน้าที่ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินแนวโน้มสถานการณ์ รวมทั้งอำนวยการและประสานงานด้านความมั่นคง กับหน่วยงานความมั่นคง ของรัฐ ในลักษณะบูรณาการงานด้านความมั่นคง โดยไม่มีอำนาจพิเศษใด ๆ เพิ่มเติม ยกเว้นได้รับมอบหมายเพิ่มเติมจาก ครม., สมช. และ นรม.

14 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ ภาวะวิกฤติ จะประกาศพื้นที่เป็นพื้นที่รักษาความมั่นคงภายใน โดยผ่านมติ ครม. กอ.รมน. จะปฏิบัติงานในลักษณะ ควบคุม อำนวยการ และสั่งการหน่วยงาน ความมั่นคงของรัฐ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่เกิดขึ้น ผอ.รมน. จะแต่งตั้งเจ้าพนักงานซึ่งเป็นข้าราชการพลเรือน ตำรวจ และทหาร ที่เป็นเจ้าหน้าที่ของ กอ.รมน. เป็นผู้ปฏิบัติงาน หากเหตุการณ์สิ้นสุดลง ให้ นรม. ประกาศสิ้นสุด โดยรายงานผลต่อสภาแทนราษฎร และวุฒิสภา ทราบ

15 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ การใช้อำนาจหน้าที่ที่สำคัญ อำนาจในการแก้ไขสถานการณ์อันเป็นภัยต่อความมั่นคงในราชอาณาจักร ในรายละเอียดของอำนาจนั้น ไม่ได้กำหนดให้มีอำนาจมากกว่ากฎหมาย ความมั่นคงพิเศษอื่น ๆ โดยมีอำนาจต่ำกว่า พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน ปี ๒๕๔๘ และ พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗

16 พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ. ๒๕๕๑
การซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่นๆ การซ้ำซ้อนกับกฎหมายอื่นๆ ในรายละเอียดนั้น ไม่ซ้ำซ้อนกับกฎหมายความมั่นคงอื่น ๆ แต่จะเป็นการ ส่งเสริมให้การปฏิบัติงานแก้ไขปัญหาความมั่นคงเป็นไปตามขั้นตอน และระดับ สถานการณ์ความรุนแรง อันจะเป็นการลดผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน การแก้ไขปัญหาด้านความมั่นคงจะใช้ร่าง พ.ร.บ.ฯ ฉบับนี้ก่อน หากสถานการณ์ รุนแรงขึ้น ก็จะใช้ พ.ร.ก.ฯ และกฎอัยการศึก ตามลำดับ หรืออาจใช้ทั้ง ๓ ฉบับ ร่วมกัน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เช่น ในพื้นที่ จชต.

17 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑

18 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา คำนิยาม ประกอบด้วย๔ มาตรา มาตรา ๓ คำนิยามของการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร โดยกล่าวถึงภัยเฉพาะภัยอันเกิดจากบุคคลหรือกลุ่ม บุคคล หมวด ๑ กองอำนวยการรักษาความมั่งคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๑๐ มาตรา ที่สำคัญคือ

19 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๑ กองอำนวยการรักษาความมั่งคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๑๐ มาตรา ที่สำคัญคือ มาตรา ๕ กอ.รมน. เป็นหน่วยในสำนักนายกฯมีฐานะเป็นส่วนราชการรูปแบบเฉพาะ อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อ นรม. มาตรา ๗ อำนาจหน้าที่ยามปกติ ๑. ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินแนวโน้มสถานการณ์ ๒. อำนวยการในการรักษาความมั่นคงภายใน ๓. อำนวยการ ประสานงาน และเสริมสร้างการปฏิบัติของ หน่วยงานของรัฐ

20 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๐ ให้มีคณะกรรมการอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักร ประกอบด้วย นรม. หรือ รอง นรม. ซึ่ง นรม. มอบหมายเป็นประธาน รมว.กห. และ รมว.มท. เป็นรองประธาน รมว.ยธ. , รมว.ทก., ปล.กห., ปล.กต., ปล.มท., อส., ลมช., คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน,เลขาธิการคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ,ผบ.สส., ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ., ผบ.สตช., อธิบดีกรมบัญชีกลาง และอธิบดีกรมสอบสวนคดีพิเศษ เป็นกรรมการ และ ลธ.รมน. เป็นกรรมการและเลขานุการ และให้ผู้อำนวยการแต่งตั้งข้าง ราชการใน กอ.รมน. เป็นผู้ช่วยเลขานุการ ไม่เกินสองคน

21 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๐ คณะกรรมการมีอำนาจหน้าที่กำกับ ให้คำปรึกษาและ เสนอแนะต่อ ดังนี้ (๑) วางระเบียบเกี่ยวกับการอำนวยการและประสานงานกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง (๒) วางระเบียบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของ กอ.รมน. กอ.รมน.ภาค และ กอ.รมน.จังหวัด (๓) ออกข้อบังคับเกี่ยวกับการงบประมาณ การเงินการคลัง การพัสดุและการจัดการ ทรัพย์สิน ของ กอ.รมน. (๔) แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิเป็นคณะที่ปรึกษา คณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อปฏิบัติ หน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมาย (๕) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่น

22 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๑ การจัดตั้ง กอ.รมน.ภาค โดยให้จัดตั้งเมื่อมีกรณีจำเป็น คณะกรรมการจะเป็นผู้จัดตั้งโดยขอเสนอของ ผอ.รมน. มาตรา ๑๒ ให้ มทภ.เป็น ผอ.รมน.ภาค คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย ประธานกรรมการ และ กรรมการ มีจำนวน ไม่เกิน ๕๐ คน จากผู้ซึ่งเป็นที่ยอมรับนับถือของ ประชาชนในพื้นที่ในทุกภาคส่วน

23 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา มาตรา ๑๓ การจัดตั้ง กอ.รมน. จว. ผอ.รมน.ภาค จัดตั้งโดยความ เห็นชอบของ รมว.มท. และ ผอ.รมน. ผวจ. เป็น ผอ. รมน.ภาค และเป็นหน่วยขึ้นตรง กอ.รมน.ภาค มาตรา ๑๔ แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา กอ.รมน.จว. โดย ผอ.รมน.จว. แต่งตั้งไม่เกิน ๓๐ คน โดยแต่งตั้งจากผู้ซึ่ง เป็นเป็นที่ยอมรับนับถือของประชาชน

24 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ประกอบด้วย ๙ มาตรา มาตรา ๑๕ การประกาศพื้นที่รักษาความมั่นคงภายใน ประกาศโดย ครม. และมอบหมายให้ กอ.รมน.ดำเนินการ นรม. ประกาศสิ้นสุด โดยรายงานให้สภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภาทราบ

25 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๖ อำนาจหน้าที่ โดยกำหนดอำนาจหน้าที่พิเศษ ที่สำคัญคือ ๑. ป้องกัน ปราบปราม ระงับ ยับยั้ง และแก้ไขหรือบรรเทาเหตุการณ์ที่ กระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ๒. สั่งให้เจ้าหน้าที่ออกนอกพื้นที่ ๓. หากจำเป็นสามารถเข้าไปปฏิบัติงานแทนหน่วยงานอื่น ๆ ได้ มาตรา ๑๗ จัดตั้งหน่วยงานเฉพาะกิจได้

26 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๘ การออกข้อกำหนดโดยความเห็นชอบของ ครม. ๑. ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เกี่ยวข้องปฏิบัติการหรืองดเว้นการปฏิบัติการ อย่างหนึ่งอย่างใด ๒. ห้ามเข้าหรือให้ออกจากบริเวณพื้นที่ อาคาร หรือสถานที่ที่กำหนดใน ห้วงเวลาที่ปฏิบัติการ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ เป็นบุคคลซึ่งได้รับการยกเว้น ๓. ห้ามออกนอกเคหสถานในเวลาที่กำหนด ๔. ห้ามนำอาวุธออกนอกเคหสถาน

27 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๘ การออกข้อกำหนดโดยความเห็นชอบของ ครม. ๕. ห้ามการใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ หรือกำหนด เงื่อนไขการใช้เส้นทางคมนาคมหรือการใช้ยานพาหนะ ๖. ให้บุคคลปฏิบัติหรืองดเว้นการปฏิบัติอย่างหนึ่งอย่างใดอันเกี่ยวกับ เครื่องมือ หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิส์ เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดแก่ ชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของประชาชน ข้อกำหนดตามวรรคหนึ่งจะกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนเวลาหรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ด้วยก็ได้ ทั้งนี้การกำหนดดังกล่าวต้องไม่ก่อความเดือนร้อนแก่ประชาชนเกินสมควรแก่เหตุ

28 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๒ ภารกิจการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร มาตรา ๑๙ การร่วมเป็นพนักงานสอบสวน มาตรา ๒๐ การเยียวยา มาตรา ๒๑ การเปิดโอกาสให้กลับตัวกลับใจ โดยอยู่ในอำนาจศาล มาตรา ๒๒ การตอบแทนเจ้าหน้าที่ มาตรา ๒๓ การไม่ให้อยู่ในข้อบังคับกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการ ปกครอง

29 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา พ.ร.บ.ฯ ประกอบด้วย ๒๖ มาตรา หมวด ๓ บทกำหนดโทษ มาตรา ๒๔ การฝ่าฝืนข้อกำหนด จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกิน สองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

30 รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ รายละเอียดที่สำคัญของ พ.ร.บ.ฯ
บทเฉพาะกาล ประกอบด้วย ๒ มาตรา มาตรา ๒๕ การโอนทรัพย์สิน กิจการ กอ.รมน. ที่ ๒๐๕/๒๕๔๙ มาเป็นของ กอ.รมน. ในร่าง พ.ร.บ. ฯ ฉบับนี้ มาตรา ๒๖ การให้ ศอ.บต. และ พตท. ที่จัดตั้งตามคำสั่ง ๒๐๗/ ๒๕๔๙ เป็นศูนย์อำนวยการหรือหน่วยงานที่เรียก ชื่ออย่างอื่นตามมาตรา ๑๗

31 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง

32 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๑. สถานการณ์ที่จะใช้ จะประกาศใช้เมื่อสถานการณ์ในภาวะไม่ปกติ ในภาวะการเกิดสงครามและการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ทหารตามแนวชายแดน ๑. สถานการณ์ที่จะใช้ จะประกาศใช้เมื่อสถานการณ์ ในภาวะไม่ปกติ เฉพาะพื้นที่ในกรณีมีสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง ๑. สถานการณ์ที่จะใช้ ใช้ทั้งภาวะปกติและไม่ปกติ

33 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๒. การประกาศ หน่วยทหารในพื้นที่ระดับ ผบ.พัน ขึ้นไป และแจ้งให้ ครม. ทราบ ๒. การประกาศ นรม. เป็นผู้ประกาศ โดยผ่านความเห็นชอบจาก ครม. ๒. การประกาศ ๒.๑ ภาวะปกติ : ไม่ต้องประกาศ โดยเป็นการอำนวยการ ประสานงานและบริหารงานตามปกติ ๒.๒ ภาวะไม่ปกติ : ครม. มีมติให้ กอ.รมน. เป็นผู้รับผิดชอบในพื้นที่

34 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๓. การเลิกประกาศ กระแสพระบรมราชโองการ ๓. การเลิกประกาศ นรม. ประกาศยกเลิก ๓. การเลิกประกาศ นรม. ประกาศ หากเห็นว่าสถานการณ์กลับสู่ภาวะปกติ และรายงานผลให้สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ทราบ

35 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๔. คณะกรรมการ ไม่มี ๔. คณะกรรมการ ประกอบด้วย รอง นรม. เป็นประธานกรรมการ, รมว.กห., รมว.มท., รมว.ยธ. เป็นรองประธานฯ, ปลัด กห., ปลัด มท., ปลัด ยธ.,ปลัด กต., ปลัด พม., ผอ.สขช., อัยการสูงสุด, ผบ.ทหารสูงสุด, ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ., ผบ.ตร., อธิบดีกรมการปกครอง, อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย เป็นกรรมการ และ ลมช. เป็นกรรมการและเลขานุการ ๔. คณะกรรมการ ประกอบด้วย นรม. หรือ รอง นรม. ที่มอบหมาย เป็นประธานกรรมการ, รมว.กห., รมว.มท. เป็นรองประธาน, รมว.ยธ., รมว.ทก., ปลัด กห., ปลัด กต., ปลัด มท., ลมช., ผอ.สขช., อัยการสูงสุด, ผอ.สำนักงบประมาณ, เลขา ก.พ., เลขา ก.พ.ร., ผบ.ทหารสูงสุด, ผบ.ทบ., ผบ.ทร., ผบ.ทอ., ผบ.ตร., อธิบดีกรมบัญชีกลาง, อธิบดี DSIเป็นกรรมการ, ลธ.กอ.รมน. เป็นกรรมการและ เลขานุการ

36 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๕. พื้นที่การใช้ ต้องประกาศพื้นที่ ๕. พื้นที่การใช้ ต้องประกาศพื้นที่ และจะหมดอายุภายใน ๓ เดือน ๕. พื้นที่การใช้ ๕.๑ ภาวะปกติ ใช้ทั้งพื้นที่เขตภายในประเทศ ๕.๒ ภาวะไม่ปกติ ต้องประกาศพื้นที่

37 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๖. การมอบอำนาจ เจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารมีอำนาจทั้งสิ้น ๖. การมอบอำนาจ นรม. หรือมอบอำนาจ ๖. การมอบอำนาจ ผอ.รมน. ใช้อำนาจ

38 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๗. อำนาจ ทหารมีอำนาจอัตโนมัติ ในเรื่องตรวจค้น,เกณฑ์, ห้าม, ยึด, การเข้าที่อยู่อาศัย, การทำลายหรือเปลี่ยนแปลงสถานที่ และการขับไล่ ๗. อำนาจ นรม. ออกข้อกำหนดในการตรวจค้น, ห้ามและประกาศให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ มีอำนาจเรียกจับกุม, ควบคุมตัว, ยึด, ตรวจค้น, ตรวจสอบ และการห้าม ๗. อำนาจ ๗.๑ ภาวะปกติ ใช้อำนาจตาม พ.ร.บ.ฯ ในหมวดที่ ๑ ๗.๒ ภาวะไม่ปกติ ครม. มีมติให้ กอ.รมน. รับผิดชอบมีอำนาจตาม พ.ร.บ.ฯ ในหมวดที่ ๒และ ผอ.รมน. สามารถออกข้อกำหนดเพิ่มเติมโดยความเห็นชอบของ ครม.

39 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๘. การจัดกุมและควบคุมตัว ไม่เกิน ๗ วัน ๘. การจับกุมและควบคุมตัว ไม่เกิน ๗ วัน สามารถขยายห้วงเวลาได้ครั้งละ ๗ วัน แต่ไม่เกิน ๓๐ วัน ๘. การจับกุมและควบคุมตัว ไม่มีอำนาจในการควบคุมตัวในหน่วย โดยใช้การควบคุมตัวตามปกติ

40 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๙. การนิรโทษกรรม ไม่มี ๙. การนิรโทษกรรม โดยการส่งให้ศาลพิจารณาสั่งไม่ฟ้อง และส่งให้เข้ารับการ อบรม ณ สถานที่ที่กำหนด ไม่เกิน ๖ เดือน

41 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๑๐. การคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและอาญาหรือทางวินัยและไม่สามารถเรียกร้องค่าเสียหายหรือค่าปรับ อย่างใด ๑๐. การคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ๑๐.๑ ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งทางอาญา หรือหรือทางวินัย หากดำเนินการโดยสุจริตแต่ไม่ตัดสิทธิผู้ได้รับความเสียหายที่จะเรียกร้องค่าเสียหาย ๑๐.๒ ไม่อยู่ในบังคับของกฎหมายว่าด้วยวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ๑๐.๑ ใช้ความคุ้มครองจากกฎหมายปกติ

42 ข้อเปรียบเทียบกฎหมายเพื่อความมั่นคง
พ.ร.บ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ พ.ร.ก.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ร.บ.การรักษาความมั่นคงในราชอาณาจักร ๑๑. บทลงโทษ ใช้ประมวลกฎหมายอาญาทหารและ ป.วิอาญา ๑๑. บทลงโทษ จำคุกไม่เกิน ๒ ปี หรือปรับไม่เกิน ๔๐,๐๐๐.- บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ ๑๑. บทลงโทษ จำคุกไม่เกิน ๑ ปี หรือปรับไม่เกิน ๒๐,๐๐๐.- บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

43 โครงสร้างการจัด รองรับ พ.ร.บ. การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
พ.ศ.๒๕๕๑

44 กรอบแนวคิด ในการจัดทำโครงสร้าง

45 การวิเคราะห์ ภัยคุกคาม กรอบแนว คิด การ จัดทำ โครง สร้าง
ภารกิจ บทบาท ตาม พ.ร.บ.ฯ การวิเคราะห์ ภัยคุกคาม กรอบแนว คิด การ จัดทำ โครง สร้าง นโยบายความมั่นคง ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน ระเบียบหลักเกณฑ์ ก.พ.ร. นโยบายของ ครม. ๑๘ ก.พ.๕๑ แนวทางการบริหารราชการยุคใหม่ กพ.

46 สถานการณ์ ภายในประเทศ
สถานการณ์ โลก สถานการณ์ ภูมิภาค สถานการณ์ ภายในประเทศ

47 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
องค์กรสำคัญของรัฐบาล ในการเสริมสร้างความมั่นคงของรัฐ และประชาชน แบบยั่งยืน

48 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ องค์กรกลางปฏิบัติงาน บูรณาการและ อำนวยการ แก้ไข ปัญหา สนองตอบการบริหารจัดการปัญหาความมั่นคง ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

49 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ ปฏิบัติงานได้ตลอด ๒๔ ชั่วโมง ติดตาม ประเมินสถานการณ์ และแก้ไขปัญหา ได้อย่างทันท่วงที

50 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ เกื้อกูลต่อการสานต่อการดำเนินงานในปัจจุบัน ไปสู่อนาคตได้อย่างเข้มแข็งแบบยั่งยืน

51 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ มีขีดความสามารถเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในการ ป้องกันภัยคุกคามทุกรูปแบบ ด้วยการส่งเสริมการ มีส่วนร่วมของภาคประชาชนที่เข้มแข็ง

52 องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์
I.S.O.C องค์ประกอบของโครงสร้างฯ ที่พึงประสงค์ มีความอ่อนตัวในการรองรับภารกิจ ตามที่กฎหมายบัญญัติ หรือตามที่ สมช. ครม. หรือ นรม. มอบหมาย

53 I.S.O.C (ส่วนบริหาร) (ส่วนอำนวยการ) (ส่วนประสานงาน)
กอ.รมน. คณะกรรมการอำนวยการ กอ.รมน. (ส่วนบริหาร) นรม./ผอ.รมน. ผบ.ทบ./รอง ผอ.รมน. ผช.ผอ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสม) ศจพ. - ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ (ด้านกฎหมาย,ด้านยุทธศาสตร์) กลุ่มตรวจสอบภายใน (ส่วนอำนวยการ) เสธ.ทบ./ลธ.รมน. สำนักเลขาธิการ รอง ลธ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสมและเป็นไปตามมติ ครม.) ศูนย์ติดตามสถานการณ์ ศอ.รมน. สำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ความมั่นคง สำนักประสานข่าวร่วม สำนักกิจการมวลชน และสารนิเทศ สำนักบริหารงาน บุคคล สำนักบริหารงานทั่วไป สำนักงบประมาณ และการเงิน (ส่วนประสานงาน) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๑ (ยาเสพติด) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ (แรงงานต่างด้าวและ ผู้หลบหนีเข้าเมืองฯ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๓ (การก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๔ (ความมั่นคงพิเศษ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๕ (ความมั่นคงเฉพาะพื้นที่) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๖ (โครงการพระราชดำริ) ศูนย์อำนวยการหรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่จัดตั้งตามความจำเป็นของสถานการณ์ ฉก.พตท.เขาค้อ ศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหา จชต. (หน่วยปฏิบัติงานในระดับพื้นที่) กอ.รมน.ภาค ๑ - ๔ ศอ.บต. พตท. กอ.รมน.จว./กทม.

54 ส่วนบริหาร กอ.รมน. คณะกรรมการ อำนวยการ กอ.รมน. นรม./ผอ.รมน.
คณะกรรมการ อำนวยการ กอ.รมน. นรม./ผอ.รมน. ผบ.ทบ./รอง ผอ.รมน. - ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ (กฎหมาย,ยุทธศาสตร์) กลุ่มตรวจสอบภายใน ผช.ผอ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสม) เสธ.ทบ./ลธ.รมน. สำนักเลขาธิการ รอง ลธ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสมและเป็นไปตามมติ ครม.)

55 ส่วนอำนวยการ ศูนย์ติดตามสถานการณ์ ศอ.รมน. สำนักนโยบาย
ศูนย์ติดตามสถานการณ์ ศอ.รมน. สำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ ความมั่นคง สำนักกิจการมวลชน และสารนิเทศ สำนักบริหาร งานบุคคล สำนัก งบประมาณ และการเงิน สำนักประสาน ข่าวร่วม สำนักบริหาร งานทั่วไป

56 ศูนย์ประสานความมั่นคง
ศูนย์ประสานฯ ๑ (ยาเสพติด) ศูนย์ประสานฯ ๓ (การก่อการร้ายและ อาชญากรรมข้ามชาติ) ศูนย์ประสานฯ ๕ (ความมั่นคงเฉพาะพื้นที่) ศูนย์ประสานฯ ๒ (แรงงานต่างด้าวและ ผู้หลบหนีเข้าเมืองฯ) ศูนย์ประสานฯ ๔ (ความมั่นคงพิเศษ) ศูนย์ประสานฯ ๖ (โครงการพระราชดำริ)

57 หน่วยปฏิบัติงานระดับพื้นที่
ศูนย์อำนวยการ แก้ไขปัญหา จชต. (กอ.รมน.ภาค ๔ สน.) ฉก.พตท.เขาค้อ กอ.รมน.ภาค ๑ - ๔ ศอ.บต. พตท. กอ.รมน. จว./กทม.

58 ศจพ. สำนักเลขาธิการศูนย์ฯ ทำหน้าที่ : ประสาน อำนวยการ บูรณาการ และกำกับดูแล งานขจัดความยากจน

59 อัตรากำลังพล ประเภทที่ ๑ : เป็นข้าราชการประจำสังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี
I.S.O.C อัตรากำลังพล ประเภทที่ ๑ : เป็นข้าราชการประจำสังกัดสำนัก นายกรัฐมนตรี ประเภทที่ ๒ : ยืมตัวจากหน่วยงานของรัฐ โดยตั้ง อัตราแทนไว้ ประเภทที่ ๓ : การช่วยราชการ โดยยังอยู่ในตำแหน่ง อัตราหน่วยเดิม (ไม่เต็มเวลา)

60 แผนผังการปฏิบัติงานด้านความมั่นคง นโยบายรัฐบาลด้านความมั่นคง
สมช. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงชายแดน พ.ศ กอ.รมน. หน่วยงานด้านความมั่นคง

61 หน้าที่และการบริหารงานใน กอ.รมน.
ส่วนบริหารงาน ทำหน้าที่ ปกครอง บังคับบัญชา กำหนดนโยบาย และ บริหารงานใน กอ.รมน.ให้เป็นไปตามภารกิจ และนโยบายที่ได้รับมอบ ส่วนอำนวยการ ทำหน้าที่ 1. วางแผน อำนวยการ ประสานงาน และกำกับดูแลการปฏิบัติงาน ภายใน กอ.รมน. และส่วนราชการด้านความมั่นคง 2. แปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ดำเนินการจัดทำยุทธศาสตร์ ในการดำเนินงาน

62 หน้าที่และการบริหารงานใน กอ.รมน.
ส่วนประสานงาน ทำหน้าที่ 1. วางแผน อำนวยการปฏิบัติงาน และกำกับดูแลการบูรณางาน ในเรื่องที่รับผิดชอบ 2. จัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีในเรื่องที่รับผิดชอบ หน่วยปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ ทำหน้าที่ 1. บูรณาการและปฏิบัติงานด้านความมั่นคงทั้งปวงในพื้นที่รับผิดชอบ 2. จัดทำแผนงาน/โครงการด้านความมั่นคงในระดับพื้นที่

63 โครงสร้างการจัด หลัก (ส่วนบริหาร) (ส่วนอำนวยการ) (ส่วนประสานงาน)
กอ.รมน. คณะกรรมการอำนวยการ กอ.รมน. นรม./ผอ.รมน. (ส่วนบริหาร) ผบ.ทบ./รอง ผอ.รมน. ผช.ผอ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสม) ศจพ. - ที่ปรึกษา ผู้เชี่ยวชาญ (ด้านกฎหมาย,ด้านยุทธศาสตร์) กลุ่มตรวจสอบภายใน เสธ.ทบ./ลธ.รมน. (ส่วนอำนวยการ) สำนักเลขาธิการ รอง ลธ.รมน. (แต่งตั้งตามความเหมาะสมและเป็นไปตามมติ ครม.) ศูนย์ติดตามสถานการณ์ ศอ.รมน. สำนักนโยบาย และยุทธศาสตร์ความมั่นคง สำนักประสานการข่าวร่วม สำนักกิจการมวลชน และสารนิเทศ สำนักบริหารงาน บุคคล สำนักบริหารงานทั่วไป สำนักงบประมาณ และการเงิน ส่วนกิจการมวลชน ส่วน ปชส./ปจว. - ส่วนกิจการพัฒนา - ฝ่ายฝึกอบรม ฝ่ายธุรการ ส่วนบริหารจัดการบุคคล ส่วนแผนและงบประมาณด้านบุคคล ส่วนงานบริการและสวัสดิการ ฝ่ายกฎหมายและสิทธิมนุษยชน ฝ่ายธุรการ - ส่วนงานพัสดุ ส่วนสนับสนุน ส่วนแผนและโครงการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ฝ่ายธุรการ ส่วนงบประมาณ ส่วนการเงิน ส่วนวิเคราะห์ และตรวจสอบ ฝ่ายธุรการ ส่วนนโยบายและยุทธศาสตร์ ความมั่นคง ส่วนงานความมั่นคงพิเศษ ส่วนวิจัยและประเมินผล - ส่วนปฏิบัติการข่าวสาร - ฝ่ายธุรการ ส่วนการข่าว - ส่วนประสานงานข่าวร่วม ส่วนแผนและโครงการ ส่วนรักษาความปลอดภัย - ฝ่ายธุรการ (ส่วนประสานงาน) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๑ (ยาเสพติด) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๒ (แรงงานต่างด้าวและ ผู้หลบหนีเข้าเมืองฯ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๓ (การก่อการร้าย และอาชญากรรมข้ามชาติ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๔ (ความมั่นคงพิเศษ) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๕ (ความมั่นคงเฉพาะพื้นที่) ศูนย์ประสานการปฏิบัติที่ ๖ (โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดำริ) ศูนย์อำนวยการหรือหน่วยงานอื่น ๆ ที่จัดตั้งตามความจำเป็นของสถานการณ์ ฉก.พตท.เขาค้อ ศูนย์อำนวยการแก้ไขปัญหา จชต. (หน่วยปฏิบัติงานในระดับพื้นที่) กอ.รมน.ภาค ๑ - ๔ กอ.รมน.จว./กทม. ศอ.บต. พตท.

64


ดาวน์โหลด ppt กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google