งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี
กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐ ๒) สัดส่วนผู้ป่วยฉุกเฉินระดับวิกฤติ (สีแดง) ที่มาด้วยระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ๓)ผู้ป่วยบาดเจ็บต่อสมองมีอัตราการเสียชีวิตลดลง สถานการณ์สำคัญ : สรุปการส่งต่อนอกเขตพื้นที่ (จังหวัดสงขลา) จำนวน ๑๙ ราย ลดลงจากปีก่อน ๒ ราย (จำนวน ๒๑ ราย) คิดเป็นร้อยละ ๙.๕๒ โครงการและกิจกรรมสำคัญ : - พัฒนาคุณภาพระบบส่งต่อ (Referral System) ภายใต้ Service Plan -แผนพัฒนา Service Plan สาขา Trauma

2 โครงการและกิจกรรมสำคัญ :
ยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี กลุ่มตัวชี้วัด : ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุขเพื่อรับพิบัติภัย สถานการณ์สำคัญ : มีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยพิบัติสูง โครงการและกิจกรรมสำคัญ : เตรียมความพร้อมด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อรับสถานการณ์อุทกภัย วาตภัย และดินโคลนถล่ม ปีงบประมาณ ๒๕๕๗

3 ยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี
กลุ่มตัวชี้วัด : ร้อยละของ ER, EMS คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ๗๐) (๑) ร้อยละของผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉินวิกฤติ(สีเหลืองและสีแดง) ที่ได้รับปฏิบัติการฉุกเฉินภายใน ๑๐ นาทีที่ได้รับแจ้งเหตุ (๒) ร้อยละของ ER ที่มีคุณภาพ (๓)ร้อยละของอำเภอที่มีทีม mini MERT สถานการณ์สำคัญ : ระบบการแพทย์ฉุกเฉินประชาชนยังไม่สามารถเข้าถึงอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ภาคีเครือข่ายยังไม่เข็มแข็ง และร่วมบริหารจัดการที่ดี การประเมินคูณภาพห้องอุบัติเหตุฉุกเฉินไม่ครอบคลุม โครงการและกิจกรรมสำคัญ : พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดสงขลา ปี ๒๕๕๗

4 ยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี
กลุ่มตัวชี้วัด : ความปลอดภัยของสถานบริการเพิ่มขึ้น สถานการณ์สำคัญ : ยังมีพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สงบ/ความไม่ปลอดภัยอยู่ โครงการและกิจกรรมสำคัญ : โครงการ : การพัฒนาระบบความปลอดภัยสถานบริการสาธารณสุขในจังหวัดสงขลา ปี ๒๕๕๗

5 เรื่องร้องเรียนเป็นระยะๆ โครงการและกิจกรรมสำคัญ :
ยุทธศาสตร์: พัฒนาระบบบริการสุขภาพ ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ เชื่อมโยงบริการ ภายใต้การจัดการทรัพยากรที่ดี กลุ่มตัวชี้วัด : จังหวัดดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สถานการณ์สำคัญ : จากการออกตรวจเตือนและบังคับใช้กฎหมายในสถานประกอบการยังมีผู้กระทำผิดกฎหมาย/พ.ร.บ. และมี เรื่องร้องเรียนเป็นระยะๆ โครงการและกิจกรรมสำคัญ : โครงการสนับสนุนการดำเนินงานบังคับใช้กฎหมายเพื่อควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบจังหวัดสงขลา ปี ๒๕๕๗


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มตัวชี้วัด : ๑) จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยนอกเขตบริการ ลดลงร้อยละ ๕๐

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google