ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี 2553 - 2556
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี โดย สำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กองสุขาภิบาลชุมชนและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ ศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข ศูนย์ห้องปฏิบัติการ กรมอนามัย
2
ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
วิสัยทัศน์ ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ เป้าประสงค์ เทศบาลสามารถดำเนินการพัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ตามบทบาทหน้าที่และบทบัญญัติของพระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ ในท้องถิ่นของตนเอง
4
เกณฑ์การวัดผล 3 ระดับ
5
ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากปัจจัยคุกคามด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และได้รับบริการที่มีคุณภาพจากภาครัฐ KRI : ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพและบริการที่มีคุณภาพดี 2. ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับครัวเรือนและ ชุมชนได้ ตลอดจนมีพฤติกรรมอนามัยที่ดี KPI : ครัวเรือนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ ประชาชน 7. สถานประกอบกิจการและสถานบริการปฏิบัติตามมาตรฐาน และกฎหมาย S ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความรู้ และปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมีความ สามารถพัฒนา ยกระดับมาตรฐานตามเกณฑ์ KPI : สถานประกอบกิจการผ่านการรับรองมาตรฐาน 3. อปท. มีความสามารถในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ S เสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการอน ามัยสิ่งแวดล้อมและประเมิน ผลกระทบต่อ สุขภาพให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง KPI : อปท. มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี 5. ภาคีภาครัฐ ธุรกิจ เอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและการดำเนินงาน S ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกำหนด และผลักดันนโยบาย และบูรณาการแผนงาน โครงการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : จำนวนของภาคีต่าง ๆที่มีส่วนร่วมในการจัดการและดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่าย 4. สสจ. และหน่วยงานในสังกัดมีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงาน S พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : เจ้าหน้าที่ สสจ.75 จังหวัด สามารถเป็นวิทยากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ 6. สื่อมวลชนสามารถสื่อสารข้อมูล ข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ S สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลและข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ KPI : มีแผนการประชาสัมพันธ์ด้านอนามัยสิ่งแวดงานล้อม 10. มีระบบการพัฒนากฎหมาย S สนับสนุนการออกกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และ คำแนะนำของคกก.สธ. KPI : กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงและคำแนะนำของ คกก.สธ. 11 .มีระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ S ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวัง และเตือนภัยที่มี ประสิทธิภาพ KPI: ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 13. มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย และ การสื่อสารสาธารณะ S พัฒนาระบบ CRM KPI: ภาคีเครือข่ายมีความรู้ และสามารถสนับสนุนการดำเนินงานได้ กระบวนการ 9.มีระบบพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม S1 ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนารูปแบบ แนวทาง หลักสูตรและมาตรฐาน KPI: จำนวนผลงานวิจัย รูปแบบ แนวทางหลักสูตรมาตรฐาน 12. มีระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ S สนับสนุนการใช้ข้อมูลด้านผลกระทบต่อสุขภาพในการกำหนดนโยบายและจัดทำโครงการต่างๆ KPI: ระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 8. มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผล กระทบต่อสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : บุคลากร อปท.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีศักยภาพ 15. ศูนย์ห้อง ปฏิบัติการมีศักยภาพและสามารถรองรับการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ S พัฒนาศักยภาพด้านการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : ความพร้อมในการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามและระบบประเมินผล KPI: การนิเทศ ติดตามและประเมินผลเป็นไปตามแผน 16. บุคลากรมีสมรรถนะด้านวิชาการและ การจัดการ S ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้เป็นวิทยากรมืออาชีพและที่ปรึกษาด้านวิชาการ KPI : บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามเกณฑ์ 18. องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี S สนับสนุนการพัฒนาองค์กรตามระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์ PMQA KPI: องค์กรดำเนินงานผ่านเกณฑ์ PMQA 17. ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย S พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ KPI: ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย พื้นฐาน 19. อัตรากำลังเหมาะสม S สนับสนุนอัตรากำลังให้มีความเหมาะสม KPI: มีอัตรากำลังที่เหมาะสมกับการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์
6
สนับสนุน ประชาชน ภาคีและเครือข่าย อปท. สร้างกระแส รณรงค์ เผยแพร่
เพิ่มขีดความสามารถ สร้างกระแส รณรงค์ เผยแพร่ สนับสนุน ร่วมมือ ศูนย์อนามัย สนับสนุน
7
ดำเนินการตามศักยภาพของหน่วยงาน(นำร่อง)
ประเด็น เป้าหมาย 2554 2555 2556 1.มีระบบเฝ้าระวังเหตุรำคาญ 2.มีการจัดการทำเทศบัญญัติด้านกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 3.มีระบบรับรองมาตรฐานผู้สัมผัสอาหาร 4.ใช้ระบบการจัดการสิ่งปฏิกูลตามแนวทาง Eco-Sanitation 5.มีระบบฐานข้อมูลกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ 6.มีความสามารถในการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมในภาวะฉุกเฉิน 7.มีระบบเฝ้าระวังอนามัยสิ่งแวดล้อม 8.มีการใช้ HIA ในการกำหนดนโยบายและแผน 9.มีระบบการจัดการขยะที่ถูกหลักสุขาภิบาล 10.มีระบบเฝ้าระวังด้านกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ศูนย์ละ 1 แห่ง / เทศบาลนคร 6 แห่ง จังหวัดที่ตั้งนิคมอุตสาหกรรม 6 แห่ง จังหวัดที่ตั้งนิคม อุตสาหกรรม 6 แห่ง
8
สวัสดี
9
(ประเด็นยุทธ์) 1.สาธารณภัย 2.HIA (พันธกิจ) 5.สุขาภิบาลอาหาร
1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากปัจจัยคุกคามด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และได้รับบริการที่มีคุณภาพจากภาครัฐ 7 ISSUE 7.สุขาภิบาลยั่งยืน (ส้วม สิ่งปฏิกูล) 5.สุขาภิบาลอาหาร (ประเด็นยุทธ์)+Issue 4และ 6 4.น้ำประปา ดื่มได้ 3.พรบ.สาธารณสุข - ออกเทศบัญญัติ - กิจการที่เป็นอันตราย เหตุรำคาญ 2.HIA (ประเด็นยุทธ์) 1.สาธารณภัย (พันธกิจ) 6.พฤติกรรมสุขภาพ (กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ) 2. ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับครัวเรือนและชุมชนได้ ตลอดจนมีพฤติกรรมอนามัยที่ดี
10
BASIC เทศบาล ปีงบประมาณ 2553 2554 2555 2556 นคร 23 เมือง 54 140 ตำบล - 163 326 รวม 77 489 ร้อยละโดยประมาณ 4.7 10 20 30
11
INTERMEDIATE 20 % ของเทศบาลที่ผ่านระดับ Basic เทศบาล ปี 2555 ปี 2556
นคร เมือง ตำบล 33 แห่ง 66 แห่ง
12
ADVANCED เทศบาลที่ผ่านระดับ Basic และ Intermediate เทศบาล ปี 2556
นคร เมือง ตำบล 12 แห่ง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.