งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ พฤษภาคม 2554 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี

2 ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดจันทบุรี
วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรมที่ดี เกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ และเป็นแบบอย่างที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม

3

4 ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน ระดับภาคี วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยม และพฤติกรรมที่เหมาะสม วัยรุ่นมีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแล แก้ปัญหาและมี พฤติกรรมเป็นตัวอย่างที่ดี ครอบครัวเฝ้าระวังพฤติกรรมของบุตรหลาน ชุมชนมีเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมวัยรุ่นและมี มาตรการทางสังคม ตำรวจ มหาดไทย นำกฎหมายมาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ศธ. ทบทวนกระบวนการให้ความรูเพศศึกษารอบด้าน พม. เน้นการพัฒนาสถาบันครอบครัว ครอบครัวเป็นสุข สธ. จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น เปิดช่องทางบริการ อบต./เทศบาล สนับสนุนทรัพยากรต่อเนื่องเพียงพอ วัด/วัฒนธรรม แหล่งเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม เอกชน สนับสนุนดำเนินการตามข้อกำหนดของท้องถิ่น ระดับกระบวนการ ระดับพื้นฐาน มีระบบบริหารภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ มีการจัดการความรู้ มีระบบการสื่อสาร/ช่องทางประชาสัมพันธ์ที่มี ประสิทธิภาพ -มีการติดตามประเมินผล -มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ มีระบบบริการและสนับสนุนสวัสดิการ มีระบบพัฒนากฏหมาย/กฏ/ระเบียบ บุคลากรทุกหน่วยงานมีความรู้และทำงานเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน องค์กรมีการจัดสรรงบประมาณอย่างทั่วถึง มีกากำหนดให้ เป็นยุทธศาสตร์ระดับจังหวัด มีการบูรณาการงานร่วมกันทุก องค์กร ข้อมูลมีการเชื่อมโยงทุกหน่วยงาน มีฐานข้อมูลกลาง มีการ เข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีข้อมูลที่ถูกต้อง ครบถ้วน ทันสมัย ผู้เก็บรวบรวมข้อมูลมีศักยภาพ

5 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี
ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบ และเป็นแบบอย่างที่ดี มีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง -สร้างครอบครัวต้นแบบ -ส่งเสริมการสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว -ส่งเสริมกิจกรรมด้านความรู้และทักษะด้านการอนามัยการเจริญพันธุ์ วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม -ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ -ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของวัยรุ่น -สร้างความตระหนักให้วัยรุ่นรู้คุณค่าตนเอง ชุมชนมีมาตรการทางสังคมและเครือข่าย เฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น -สร้างมาตรการทางสังคม -สร้างเครือข่ายเฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น -สร้างความตระหนักและส่งเสริมการมีส่วนร่วม ระดับประชาชน (Valuation) ศาล/ตำรวจ/มหาดไทย มีการบังคับใช้ตามกระบวนการยุติธรรม -เฝ้าระวังการเกิดพฤติกรรมเสี่ยง -กวดขัน -จัดZONEING อบต./เทศบาล สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ,ต่อเนื่อง -สร้างการมีส่วนร่วม -สร้างข้อกำหนด -บรรจุแผน RHในแผนประจำปี พม./วัฒนธรรม/ศธ. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับเพศศึกษารอบด้าน -ส่งเสริม/สร้างสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้อนามัยการเจริญพันธุ์ -ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม -พัฒนาศักยภาพ หน่วยงานสังกัด กระทรวงสาธารณสุข -จัดบริการเชิงรับ เชิงรุก -จัดบริการเพื่อนรักวัยรุ่น -สร้างเครือข่าย -สนับสนุนความรู้ วิชาการ (Stakeholder) ระดับภาคี มีระบบการสื่อสาร/ช่องทางประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย พัฒนาสื่อสาธารณะ มีการจัดการความรู้ -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ -ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น(วัฒนธรรมดั้งเดิม) -ส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการติดตามประเมินผล พัฒนาระบบติดตามประเมินผล -พัฒนาระบบจัดทำข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา -พัฒนาศูนย์ข้อมูล มีระบบบริหารภาคีเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ -สร้างการมีส่วนร่วม สร้างหน่วยงานเจ้าภาพหลัก พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย ระดับกระบวนการ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาศูนย์ข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ -พัฒนาระบบสารสนเทศอนามัยการเจริญพันธุ์ -พัฒนาบุคลากร บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -สร้างเครือข่ายด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ องค์กรมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมการดำเนินงานแบบบูรณาการ -สร้างข้อตกลงร่วมกัน (MOU) -พัฒนาเครือข่ายองค์กร ระดับ พื้นฐาน 5 5

6 ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดจันทบุรี ภายในปี ๒๕๕๔ (ระยะ ๒ ปี) วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรมที่เหมาะสม มีการรวมกลุ่มทำกิจกรรม ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการเจริญพันธุ์ ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง สร้างครอบครัวต้นแบบ ชุมชนมีมาตรการทางสังคมและเครือข่าย เฝ้าระวังพฤติกรรมในวัยรุ่น สร้างมาตรการทางสังคม ประชาชน พม./วัฒนธรรม/ศธ. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับเพศศึกษารอบด้าน จัดสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ RH ศาล/ตำรวจ/มหาดไทย มีการบังคับใช้ตามกระบวนการยุติธรรม เฝ้าระวังการเกิดพฤติกรรมเสี่ยง หน่วยงานสังกัด กระทรวงสาธารณสุข จัดบริการเชิงรับ เชิงรุก ภาคี อบต./เทศบาล สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ,ต่อเนื่อง สร้างการมีส่วนร่วม มีระบบการสื่อสาร/ช่องทางประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมด้านการประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย มีระบบบริหารภาคีเครือข่าย ที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม มีการจัดการความรู้ ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และการจัดการความรู้ กระบวนการ มีการติดตามประเมินผล พัฒนาระบบติดตามประเมินผล องค์กรมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการดำเนินงานแบบบูรณาการ มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ข้อมูลอนามัยการเจริญพันธุ์ พื้นฐาน บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6 6

7 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นมีความรู้ ค่านิยมและพฤติกรรม ที่เหมาะสม มีการ รวมกลุ่มทำกิจกรรม ส่งเสริมความรู้ ทักษะอนามัยการ เจริญพันธุ์ 1.คัดเลือกแกนนำ เยาวชนอายุ ปี 2.อบรมให้ความรู้โดย จัดค่ายทักษะชีวิต 3.สร้างเยาวชน ต้นแบบ 4.จัดตั้งชมรมเยาวชน ในพื้นที่ให้มีกิจกรรม อย่างต่อเนื่อง -ทุกอำเภอมีชมรม เยาวชนต้นแบบอย่าง น้อย 1 ตำบล สถานศึกษาในระบบ และนอกระบบ,อปท. เทศบาล,อบต., มหาดไทย สธ.,ตำรวจ ,ศาล,วัฒนธรรม อบจ., คณะอนุกรรมกา รอนามัยเจริญ พันธุ์ในระดับ อำเภอ 7

8 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวอบอุ่นและ เข้มแข็ง สร้างครอบครัว ต้นแบบ 1.อบรมครอบครัวที่มี ลูกวัยรุ่น ปี 2.กำหนดหลักเกณฑ์ และใช้เกณฑ์เพื่อ คัดเลือกครอบครัว ต้นแบบ/ประกาศ เกียรติคุณ 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง ครอบครัวต้นแบบ ภายในตำบล ทุกตำบลมีครอบครัว อบอุ่นและเข้มแข็ง อย่างน้อย 1 ครอบครัว พม.,สธ., สสจ.,อบต เทศบาล, มหาดไทย ตำรวจ,,ศธ., วัฒนธรรม,ศาล คณะอนุกรรมกา รอนามัยเจริญ พันธุ์ในระดับ อำเภอ 8

9 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีมาตรการ ทางสังคมและ เครือข่ายเฝ้าระวัง พฤติกรรมในวัยรุ่น สร้างมาตรการทาง สังคม 1.จัดเวทีประชาคม เพื่อกำหนดมาตรการ ทางสังคมร่วมกัน 2.สนับสนุนให้มี เครือข่ายเฝ้าระวัง พฤติกรรมของวัยรุ่น ในชุมชน 3.จัดตั้งศูนย์สำหรับ แจ้งเบาะแส พฤติกรรมวัยรุ่นที่ไม่ เหมาะสม ทุกตำบลมีมาตรการ ทางสังคมในการเฝ้า ระวังพฤติกรรมวัยรุ่น อปท.,ตำรวจ, มหาดไทย,สธ.,พม. สถานพินิจ ,ศาล, 9

10 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 1. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับเพศศึกษารอบด้าน ส่งเสริม/สร้าง สิ่งแวดล้อมเอื้อต่อ การเรียนรู้อนามัย การเจริญพันธุ์ ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เข้าค่ายจริยธรรมฯ พัฒนาทักษะการถ่ายทอด เพศศึกษาให้แก่ผู้ให้ความรู้ เกี่ยวกับอนามัยเจริญพันธุ์ - ทุกชุมชนและทุกโรงเรียน มีมุมการเรียนรู้เกี่ยวกับ อนามัยการเจริญพันธุ์ - ศธ. - พม.จ. - วธ. - สธ. - มหาดไทย - เทศบาล,อบต. 10

11 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 2.อบต./เทศบาล สนับสนุนทรัพยากรอย่างเพียงพอ,ต่อเนื่อง - สร้างการมีส่วน ร่วม - ประชาคม - สร้างข้อกำหนด พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น และเยาวชน - บรรจุแผนอนามัยการเจริญ พันธุ์ในวัยรุ่น ในแผนประจำปี มีโครงการที่จัดทำ ร่วมกันของหน่วยงาน ต่างๆ บรรจุในแผน ประจำปีของ อปท. จำนวนโครงการที่ ได้รับการสนับสนุน อย่างน้อย 1 โครงการ - เทศบาล,อบต.,สธ., พัฒนาชุมชน มหาดไทย ศธ. สธ. พม.จ./ยุติธรรม อบจ. 11

12 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 3. มีการบังคับใช้กฎหมาย กระบวนการยุติธรรม - เฝ้าระวังการเกิด พฤติกรรมเสี่ยง - กำหนดโซนนิ่ง - ประชาสัมพันธ์,สื่อสาร - ประชุมชี้แจง - กำหนดเป็นภารกิจร่วมกัน 1.วธ.สอดส่องการเปิด ให้บริการร้านเกมส์ 2.ศาล ตัดสิน พิจารณา พิพากษาคดี 3.ตร.กวดขันสถานบริการเปิด ปิดตามเวลา - ทุกพื้นที่/ชุมชนไม่มี เปิดที่เสี่ยง (เกมส์, คาราโอเกะ ,สวนสาธารณะ) ร้านไม่เปิดเกินเวลา - หน่วยงานตำรวจ - หน่วยงานฝ่าย ปกครอง - วัฒนธรรม - อบต./เทศบาล ศธ. สธ. พม.จ. ศาล 12

13 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 4. หน่วยงานสาธารณสุขมีการจัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น - จัดบริการเชิงรับ และเชิงรุก - จัดบริการเพื่อนใจวัยรุ่น - สร้างเครือข่ายอนามัยการ เจริญพันธุ์ - สนับสนุนความรู้,วิชาการ - รณรงค์สร้างค่านิยมเรื่อง อนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง - โรงเรียนจัดให้มีมุมเพื่อนใจ วัยรุ่น - จังหวัดมีสถาน บริการสุขภาพที่เป็น มิตรที่ผ่านเกณฑ์ มาตรฐานอย่างน้อย 1 แห่ง - สธ. - ศธ. - เทศบาล/อบต. มหาดไทย/ ยุติธรรม พม.จ. 13

14 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 1. มีระบบติดตามและประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ - พัฒนาระบบ ติดตามประเมินผล 1. แต่งตั้งคณะทำงาน ติดตามและประเมินผล 2. จัดประชุมชี้แจง และกำหนดตัวชี้วัดการ ติดตามและประเมินผล 3. ปฏิบัติงานตามแผน 4. สรุปผลการปฏิบัติ และทบทวน กระบวนการติดตาม เพื่อนำมาพัฒนา ทุกอำเภอมีระบบ ติดตามและประเมินผล แบบมีส่วนร่วม คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด/อำเภอ สำนักงาน จังหวัด สสจ. 14

15 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบบริหารภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม 1.แต่งตั้งคณะทำงาน การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ทุกระดับ 2.ประชุมเชิง ปฏิบัติการ คณะทำงานเพื่อการ สร้างความรู้ความ เข้าใจอย่างต่อเนื่อง 3.จัดทำแผนการ ปฏิบัติงานระหว่าง ภาคีเครือข่าย(ถ่าย ระดับแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ในระดับ ตำบล) -ดำเนินการตาม แผนปฏิบัติงาน - ติดตามและ ประเมินผลทุกตำบล -ทุกตำบลมีและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ อนามัยการเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น -คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด -สธ. -พม.จ. -ภาคี เครือข่าย -อปท. -ศธ. -มหาดไทย -ตำรวจ -ยุติธรรม -ภาคเอกชน -ภาคประชาชน 15

16 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบการสื่อสาร/ ประชาสัมพันธ์ที่มี ประสิทธิภาพ ส่งเสริมด้านการ ประชาสัมพันธ์ให้ ทั่วถึงและเข้าถึง ง่าย 1.สนับสนุนทรัพยากร ในการสื่อสารและ ประชาสัมพันธ์ 2.พัฒนาช่องทางการ สื่อสารให้มีความ หลากหลายและ เข้าถึงง่าย เช่น วิทยุ ชุมชน หอกระจาย ข่าว,โรงเรียน ,อินเตอร์เน็ต ( -เปิดเสียงตามสาย -จัดทำป้ายสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ -มีระบบการสื่อสารที่มี ประสิทธิภาพที่ หลากหลายและเข้าถึง ง่าย -มีการสื่อสารที่ หลากหลาย มี ประสิทธิภาพ เข้าถึงง่าย -ทุกอำเภอมีป้าย ประชาสัมพันธ์อย่างน้อย 1 ป้าย คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด/อำเภอ -ภาคี เครือข่าย -สสอ. -อปท. -ศธ. -พม. -มหาดไทย -ตำรวจ -ยุติธรรม -ภาคเอกชน -ภาคประชาชน 16

17 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงานรับผิดชอบรอง 4. มีการจัดการความรู้ - ส่งเสริมการจัดการ ความรู้ 1. ส่งเสริมการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2. ส่งเสริมการสร้าง นวัตกรรมและองค์ ความรู้ 3. จัดตั้งศูนย์การ เรียนรู้ จัดเวทีประกวด นวัตกรรมด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ ทุกอำเภอมีนวัตกรรม หรือองค์ความรู้เรื่อง อนามัยการเจริญพันธุ์ อย่างน้อย 1 เรื่อง คณะอนุกรรมการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด/อำเภอ อบต./เทศบาล -ภาคี เครือข่าย -สสอ. -อปท. -ศธ. -พม. -มหาดไทย -ตำรวจ -ยุติธรรม -ภาคเอกชน -ภาคประชาชน 17

18 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีความรู้และทำงานเป็นทีม พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 1.จัดทำแผนการ พัฒนาบุคลากร 2.จัดอบรม/ประชุม พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 3.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่างทีม อำเภอ 4.สร้างเครือข่ายด้าน อนามัยเจริญพันธุ์ -ทุกอำเภอมีบุคลากร ด้านอนามัยเจริญพันธุ์ อย่างน้อย 1 ทีม -สสจ. -ศธ. -พม.จ. -เทศบาล/อบต. คณะอนุกรรม การการพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด/อำเภอ 18

19 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาศูนย์ข้อมูล อนามัยการเจริญ พันธุ์ 1.แต่งตั้งคณะทำงาน เกี่ยวกับการเก็บ ข้อมูล 2.จัดทำข้อมูลที่ เกี่ยวข้อง 3.พัฒนาระบบ IT ให้ เป็นศูนย์ข้อมูลกลาง 4.สื่อสาร ประชาสัมพันธ์ ในแต่ ละหน่วยงานลงสู่ ประชาชน -จังหวัดมีศูนย์ข้อมูล กลาง1 แห่ง ที่มีข้อมูล ครบถ้วนและทันสมัย คณะอนุกรรมการการ พัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด สำนักงาน จังหวัด 19

20 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.จันทบุรี ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.องค์กรมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการ ดำเนินงานแบบ บูรณาการ 1.กำหนดนโยบาย และเป้าหมายการ ดำเนินงาน 2.ประชุมเชิง ปฏิบัติการและถ่าย ระดับแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์ในระดับ อำเภอและตำบล 3.ติดตามประเมินผล 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ -ทุกอำเภอมีการสร้าง แผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์อนามัย เจริญพันธุ์อย่างน้อย 1 แผน -ทุกตำบลในจังหวัดมี การสร้างและใช้แผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ อนามัยเจริญพันธุ์ใน วัยรุ่น คณะกรรมการอนามัย เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด/อำเภอ ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด 20

21 การขับเคลื่อนแผนฯ ให้ไปสู่การปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม
1.ดึงหน่วยงานต่างๆเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง โดยทำความเข้าใจกันให้ดีก่อนเพื่อผลักดันเข้าแผนของท้องถิ่น 2.เอาเครื่องมือที่คิดด้วยกันไปจับมือพากันทำ 3.นำกลยุทธ์มาปรับใช้กับการดำเนินงานเพื่อรองรับการดำเนินงานในปีถัดไป 4.ต้องนำผลการจัดทำแผนครั้งนี้ขึ้นรายงานให้หัวหน้าส่วนรับทราบ 5.เอาไปทำให้องค์กร/ชุมชน/เครือข่าย เห็นความสำคัญของเรื่องนี้ 6.ลองใช้ในพื้นที่ ใช้แล้วเป็นอย่างไร ใช้ได้แค่ไหน 7.มีการประสานงานอย่างต่อเนื่องของภาคีเครือข่ายให้เข้าใจไปในทางเดียวกัน 8.ประสานเรื่องนี้ให้กับผู้บริหารระดับท้องถิ่นได้รับทราบ ให้เห็นปัญหาเรื่องนี้ 9.ทำยังไงให้ในแต่ละอำเภอเห็นเรื่องนี้เป็นเรื่องสำคัญ / ให้แต่ละอำเภอแยกทำเฉพาะเรื่องนี้เพียงเรื่องเดียวเพื่อให้คนอื่นเห็นความสำคัญให้ได้ 10.ถ้าเรื่องอนามัยการเจริญพันธุ์พูดโดยผู้บริหารสูงสุดของจังหวัด จะเป็นการกระตุ้นเตือนให้ทุกฝ่ายให้ความสำคัญ


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google