งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "(๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 (๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)
แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก ประเทศไทย เพื่อแม่และเด็กมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ แม่และเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น * สนับสนุนให้เกิดพฤติกรรมสุขภาพแม่ และเด็ก KPI :ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพอนามัยแม่ และเด็กทีดีขึ้น ประชาชน ชุมชนมีแผนงานโครงการนวตกรรม  พัฒนาศักยภาพแกนนำชุมชนด้านการ ทำแผนชุมชน KPI :ชุมชนมีแผนงาน/โครงการ แม่และเด็กที่สอดคล้องกับปัญหา ท้องถิ่น ชุมชนมีศักยภาพ  พัฒนาระบบเฝ้าระวังสุขภาพแม่และเด็กในชุมชน KPI :ชุมชนมีระบบเฝ้าระวังปัญหาและพฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก (๑๕) (๑๓) (๑๔) อปท.,มีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการโดยใช้ งบฯท้องถิ่น KPI :มีแผนงานโครงการอนามัยแม่และ เด็กที่สอดคล้องกับปัญหาท้องถิ่น (๑๒) สื่อมวลชนมีส่วนร่วม  สนับสนุนการสื่อสารด้าน ความเสี่ยงสุขภาพอนามัย แม่และเด็ก KPI :มีการสื่อสารประสัมพันธ์ ความเสี่ยงสุขภาพด้านอนามัยแม่ และเด็กอย่างต่อเนื่อง ภาคี เครือข่าย แกนนำ/ชุมชนมีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง  สร้างค่านิยมร่วม KPI :มีค่านิยมร่วมกันของชุมชนเพื่อส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก (๑๐) รัฐ เอกชน NGO มีส่วนร่วม  สนับสนุนการใช้มาตรฐาน/รูปแบบมาตรฐานโรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว KPI :ภาคีรัฐและเอกชนนำมาตรฐาน/รูปแบบใช้ในการ ดำเนินงาน (๑๑) (๙) มีนวัตกรรม/รูปแบบ/มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กที่เหมาะสม  ส่งเสริมการสร้างและใช้นวตกรรม/รูปแบบ มาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก KPI :ภาคีภาครัฐและเอกชนมีการใช้นวตกรรม รุปแบบมาตรฐานอย่างต่อเนื่อง มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ สร้างกระแสสังคม/รณรงค์ อย่างต่อเนื่อง KPI :หน่วยงาน/ภาคีมีการ นำเสนอข่าวสารอย่างต่อเนื่อง มีระบบการจัดการที่ดี  สร้างระบบติดตามประเมินผล KPI :หน่วยงานมีระบบการ ติดตามประเมินผลทีมี ประสิทธิภาพ กระบวน การ (๗) (๖) (๘) มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ทีดี  พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย KPI : ภาคีเครือข่ายมีความรู้ ความสามารถในการปฏิบัติงานตาม เกณฑ์ (๕) (๒) องค์กรมีผู้นำที่มีศักยภาพและทำงานเป็นทีม พัฒนาให้มีภาวะผู้นำและทำงานเป็นทีม KPI : มีภาวการณ์เป็นผู้นำและทำงานเป็นทีม ตามเกณฑ์ (๔) (๓) มีระบบสารสนเทศที่ครบถ้วนถูกต้องทันสมัย  พัฒนาระบบสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพ KPI : มีระบบฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ถูกต้อง ทันสมัย รากฐาน มีบรรยากาศและแรงจูงใจการปฏิบัติงานที่ดี สร้างวัฒนธรรมและการปฏิบัติตาม วัฒนธรรมขององค์กร KPI :มีการปฏิบัติตามวัฒนธรรมองค์กร บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะที่เหมาะสม  พัฒนาบุคลากรเสริมสร้างและสมรรถนะ บุคลากร KPI :บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามเกณฑ์ (๑)

2 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ.2554 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีความตระหนัก ความรู้ และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI:เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ 15 14 13 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI:แกนนำ/เครือข่ายครอบครัวสามารถทำบทบาทการเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI:แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI:มีแผนชุมชน/นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 12 9 สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI: มีโรงเรียนต้นแบบ 11 10 อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI:อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI: มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 8 มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม 7 มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI:ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ 6 ระดับกระบวนการ (Management) ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI:มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 5 มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI:มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 4 สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI: มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน 2 ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1 มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI: มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI: มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 3 2

3 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี ของกรมอนามัย KRI 1.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) 14. ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน 2.8 แสนคน KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. 150 องค์กร S :สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 70% KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ KPI : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร./อปท. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : องค์กรสามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร./อปท. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง 294 ร้าน/21 ราย/7แห่ง/ 1 รูปแบบ KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ (Stakeholder) ระดับภาคี 150 แห่ง 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC 42 แห่ง S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ 150 แห่ง 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน ระดับกระบวนการ (Management) S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้ KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 ระบบ 5 ช่องทาง 4. มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม 90% KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนาธรรมอย่างต่อเนื่อง 3 3 KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 240 องค์กร KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HAT 95% KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency 90% 3 3 3

4 แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายในปี พ. ศ
แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ – 2554 กรมอนามัย GOAL : “ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ” ผู้สูงอายุตระหนักรู้คุณค่าของตนเอง สนับสนุนการพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ* KPI : ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเองได้ตามเกณฑ์ 14 ระดับประชาชน (Valuation) มีแผนชุมชนพึ่งตนเองได้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การมีส่วนร่วม KPI : ชุมชนสามารถทำแผนชุมชนได้สอดคล้องตามบริบทของพื้นที่ 12 ชุมชนมีศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุ การดูแลตนเอง KPI : ชุมชนสามารถมีระบบในการดูแลสุขภาพตนเองอย่างเหมาะสม 13 ชมรมผู้สูงอายุมีศักยภาพดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เสริมพลัง Empowerment KPI :ชมรมผู้สูงอายุที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐาน (75%) 11 (Stakeholder) ระดับภาคี ภาคีอื่นๆสนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ประสานความร่วมมือ KPI : ภาคีเครือข่าย(สถาบันทางศาสนา)มีระบบบริการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีคุณภาพและเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ (1อำเภอ1 วัด ส่งเสริมสุขภาพ) 10 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เสนอแนะเชิงนโยบาย(Policy Advocate) KPI : องค์กรปกครองท้องถิ่นมีแผนงานการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุบรรจุในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาคีด้านสาธารณสุข มีศักยภาพการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ KPI : ภาคีเครือข่ายด้านสาธารณสุขนำรูปแบบระบบบริการการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไปพัฒนาและปรับใช้ให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่ 9 8 มีการบริหารจัดการเครือข่ายที่เข้มแข็ง บริหารความสัมพันธ์ KPI : ความพึงพอใจของสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม (80%) 7 ระดับกระบวนการ(Management) พัฒนาระบบสารสนเทศด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาสื่อบุคคล KPI : มีฐานข้อมูลที่ได้รับการพัฒนา (2 ฐาน ทันต + สำนัก) พัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ • การจัดการความรู้ KPI : นำนวัตกรรมไปใช้แลกเปลี่ยนในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ (ตำบลต้นแบบ12 ตำบล) 5 พัฒนาการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนาแผนงาน กำกับติดตามและประเมินผล KPI : มีการสรุปผลการดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์(100%) 6 4 ระบบฐานข้อมูล มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการใช้ฐานข้อมูล/สารสนเทศ KPI : มีฐานข้อมูลที่ทันสมัยและสารสนเทศที่ทันสมัยและสามารถเข้าถึงได้ (2 ฐานข้อมูล) สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ • พัฒนาความเป็นมืออาชีพ KPI : บุคลากรในองค์กรมีสมรรถนะและทักษะ ด้านการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น (60 คน) 2 1 องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อการ ทำงานแบบเชื่อมโยง •ส่งเสริมสนับสนุนการทำงานตามค่านิยม KPI : บุคลากรมีการทำงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ แบบเชื่อมโยงเป็นทีมบูรณาการ 3 ( Learning /Development) ระดับพื้นฐาน

5 ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อม ปี ประชาชนอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 1. ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพจากปัจจัยคุกคามด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม และได้รับบริการที่มีคุณภาพจากภาครัฐ KRI : ประชาชนได้รับการคุ้มครองสุขภาพและบริการที่มีคุณภาพดี 2. ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมระดับครัวเรือนและ ชุมชนได้ ตลอดจนมีพฤติกรรมอนามัยที่ดี KPI : ครัวเรือนสามารถจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ ประชาชน 7. สถานประกอบกิจการและสถานบริการปฏิบัติตามมาตรฐาน และกฎหมาย S ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความรู้ และปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ และมีความ สามารถพัฒนา ยกระดับมาตรฐานตามเกณฑ์ KPI : สถานประกอบกิจการผ่านการรับรองมาตรฐาน 3. อปท. มีความสามารถในการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้อย่างมี ประสิทธิภาพ S เสริมสร้างศักยภาพด้านการจัดการอน ามัยสิ่งแวดล้อมและประเมิน ผลกระทบต่อ สุขภาพให้บุคลากรที่เกี่ยวข้อง KPI : อปท. มีการจัดการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่ดี 5. ภาคีภาครัฐ ธุรกิจ เอกชน และประชาสังคมมีส่วนร่วมและสนับสนุนการจัดการและการดำเนินงาน S ส่งเสริมการมีส่วนร่วมกำหนด และผลักดันนโยบาย และบูรณาการแผนงาน โครงการด้าน อนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : จำนวนของภาคีต่าง ๆที่มีส่วนร่วมในการจัดการและดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม ภาคีเครือข่าย 4. สสจ. และหน่วยงานในสังกัดมีส่วนร่วม สนับสนุนการดำเนินงาน S พัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : เจ้าหน้าที่ สสจ.75 จังหวัด สามารถเป็นวิทยากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ 6. สื่อมวลชนสามารถสื่อสารข้อมูล ข่าวสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ S สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้ ข้อมูลและข่าวสารที่ถูกต้องและทันเหตุการณ์ KPI : มีแผนการประชาสัมพันธ์ด้านอนามัยสิ่งแวดงานล้อม 10. มีระบบการพัฒนากฎหมาย S สนับสนุนการออกกฎกระทรวง ประกาศกระทรวง และ คำแนะนำของคกก.สธ. KPI : กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงและคำแนะนำของ คกก.สธ. 11 .มีระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยที่มีประสิทธิภาพ S ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวัง และเตือนภัยที่มี ประสิทธิภาพ KPI: ระบบเฝ้าระวังและเตือนภัยด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม 13. มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย และ การสื่อสารสาธารณะ S พัฒนาระบบ CRM KPI: ภาคีเครือข่ายมีความรู้ และสามารถสนับสนุนการดำเนินงานได้ กระบวนการ 9.มีระบบพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม S1 ส่งเสริมให้มีการศึกษาวิจัย พัฒนารูปแบบ แนวทาง หลักสูตรและมาตรฐาน KPI: จำนวนผลงานวิจัย รูปแบบ แนวทางหลักสูตรมาตรฐาน 12. มีระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ S สนับสนุนการใช้ข้อมูลด้านผลกระทบต่อสุขภาพในการกำหนดนโยบายและจัดทำโครงการต่างๆ KPI: ระบบประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ 8. มีระบบพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและประเมินผล กระทบต่อสุขภาพที่มีประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบการพัฒนาบุคลากรด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและ ประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ KPI : บุคลากร อปท.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีศักยภาพ 15. ศูนย์ห้อง ปฏิบัติการมีศักยภาพและสามารถรองรับการจัดการ อนามัยสิ่งแวดล้อมได้ S พัฒนาศักยภาพด้านการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม KPI : ความพร้อมในการตรวจวิเคราะห์ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม มีการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ S พัฒนาระบบนิเทศ ติดตามและระบบประเมินผล KPI: การนิเทศ ติดตามและประเมินผลเป็นไปตามแผน 16. บุคลากรมีสมรรถนะด้านวิชาการและ การจัดการ S ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้เป็นวิทยากรมืออาชีพและที่ปรึกษาด้านวิชาการ KPI : บุคลากรมีทักษะและสมรรถนะตามเกณฑ์ 18. องค์กรมีวัฒนธรรมที่ดี S สนับสนุนการพัฒนาองค์กรตามระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ตามเกณฑ์ PMQA KPI: องค์กรดำเนินงานผ่านเกณฑ์ PMQA 17. ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงง่าย S พัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ KPI: ระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศมีความถูกต้อง ทันสมัย เข้าถึงได้ง่าย พื้นฐาน 19. อัตรากำลังเหมาะสม S สนับสนุนอัตรากำลังให้มีความเหมาะสม KPI: มีอัตรากำลังที่เหมาะสมกับการดำเนินงานตามประเด็นยุทธศาสตร์ 5 5


ดาวน์โหลด ppt (๑๕) (๑๓) (๑๔) (๑๒) ภาคี เครือข่าย (๑๐) (๑๑) (๙) กระบวน (๗) การ (๖)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google