ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
การบริหารงบค่าเสื่อม 2557
2
กรอบการบริหารจัดการงบค่าเสื่อม
จำนวน บาทต่อผู้มีสิทธิ เป็นค่าใช้จ่าย สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขสำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนที่จ่ายชดเชยค่าเสื่อมของสิ่งก่อสร้างและครุภัณฑ์ที่ใช้ในการบริการผู้ป่วยนอก บริการผู้ป่วยใน และบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค โดยให้หน่วยบริการนำไปใช้จัดหา ด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งานได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (ทดแทนในเชิง function ของครุภัณฑ์/สิ่งก่อสร้าง)
3
กรอบแนวทางบริหารงบค่าเสื่อมปี 2557
( บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม OP (55.10 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม IP (53.59 บาทต่อผู้มีสิทธิ) งบค่าเสื่อม PP (20 บาทต่อผู้มีสิทธิ) หมายเหตุ (B)ไม่เกิน20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด เพื่อส่งเสริมการเพิ่มการเข้าถึงบริการและลดการส่งต่อไปใช้บริการนอกเขตพื้นที่ โดยแนวทางการจ่ายให้ผ่านความเห็นชอบจากคณุอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ตามจำนวนผู้ลงทะเบียนสิทธิ คำนวณตามสัดส่วนอัตราต่อผู้มีสิทธิของงบ OP-PP-IP ตามจำนวนผลบริการ IP (sum adjRW) ของหน่วยบริการ รวมงบค่าเสื่อมที่คำนวณตามสัดส่วน OP-PP-IP (100%) (A) โอนตรงหน่วยบริการไม่น้อยกว่า 80% (B) ไม่เกิน 20% สำหรับการบริหารระดับประเทศ/เขต/จังหวัด หน่วยบริการ
4
หน่วยบริการที่สามารถรับงบค่าเสื่อม หน่วยบริการในระบบ UC ทุกสังกัด
บริการ OP PP IP บริการ IP รับงบค่าเสื่อมจาก การให้บริการ OP PP IP การให้บริการ OP PP การให้บริการ IP ยกเว้น หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรค บริการ OP PP
5
ข้อมูลที่ใช้ในการจัดสรรงบค่าเสื่อม57 สัดส่วนการแบ่ง
วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP (55.10 บาท : ปชก.) ประชากร เดือน ต.ค.56 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ PP (20.00 บาท : ปชก.) วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP (53.59 บาท : ปชก.) Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา
6
การจัดทำแผนและการพิจารณาอนุมัติแผนการบริหารเงินค่าเสื่อม
ระดับหน่วยบริการ 80% หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น (ยกเว้น สป.สธ.) / ภาคเอกชน การจัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมไปยัง สปสช.เขต เพื่อรวบรวมเสนอให้ อปสข. พิจารณาอนุมัติ และ เบิกจ่ายเงินค่าเสื่อมให้หน่วยบริการต่อไป ยกเว้น สปสช.เขต 13 กรุงเทพมหานคร สามารถกำหนดแนวทางการบริหารงบประมาณภายในเขตได้ แต่อย่างน้อยต้องได้ข้อมูลและเงื่อนไขตามที่ สปสช. กำหนด โดยแนวทางการจ่ายต้องผ่านความเห็นชอบจาก อปสข. หน่วยบริการภาครัฐสังกัด สป.สธ.จัดทำแผนการบริหารเงินค่าเสื่อมเสนอให้ คปสอ. เป็นผู้พิจารณาอนุมัติ พร้อมจัดส่งรายละเอียดแผนที่ได้รับการอนุมัติให้ สสจ.รวบรวมเป็นภาพรวมระดับจังหวัด และ สสจ.สำเนาแผนภาพรวมแจ้งสปสช. เขต โดยสปสช.จะเป็นผู้โอนเงินตรงให้หน่วยบริการ ส่วนของวงเงินค่าเสื่อม เพื่อบริหารจัดการระดับประเทศ,เขต และจังหวัด ดำเนินการโดยให้ผ่านความเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด 20%
7
การกำกับติดตามการดำเนินงานงบค่าเสื่อม
หน่วยบริการรายงานผลการจัดซื้อ/จัดหา ผ่านทาง Website ของสปสช. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับหน่วยบริการ หน่วยบริการ สป.สธ. ให้เป็นไปตามมติความเห็นชอบของ คปสอ. แล้วแจ้งกลับให้ สสจ. และ สปสช.เขต ทราบ หน่วยบริการภาครัฐสังกัดอื่น/เอกชน ให้แจ้ง สปสช.เขต เพื่อเสนอความเห็นชอบตามมติ อปสข. กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงรายการ / มีเงินเหลือจ่าย ระดับประเทศ/เขต/จังหวัด ให้เป็นไปตามมติเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หรือ ผู้ที่ได้รับมอบหมายจากคณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง หากหน่วยบริการไม่สามารถดำเนินการได้ทันภายในปีงบประมาณ2557 ต้องขออนุมัติขยายเวลาดำเนินการต่อคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น โดยต้องขออนุมัติก่อนสิ้นปีงบประมาณ2557 พร้อมทั้งรายงานแผนการดำเนินการที่จะดำเนินการตามกำหนดใหม่ให้พิจารณาด้วย แต่ต้องไม่เกินปีงบประมาณ2558 หากหน่วยบริการที่ได้รับอนุมัติให้ขยายเวลาการดำเนินงานแล้ว และยังไม่สามารถดำเนินการตามแผนได้ ให้คณะกรรมการ หรือคุณะอนุกรรมการ ผู้พิจารณาอนุมัติแผนในแต่ละระดับข้างต้น เป็นผู้พิจารณาชี้ขาดตามความเหมาะสม แล้วแจ้งกลับผู้เกี่ยวข้องแต่ละระดับทราบ เพื่อให้ สปสช.ดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องต่อไป
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.