งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข
แผนแม่บทการปรับปรุงและ พัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลังสุขภาพ สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข

2 วัตถุประสงค์ 3.1 เพื่อพัฒนาระบบบัญชีภาคสุขภาพให้ใช้เป็นมาตรฐาน สำหรับหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขทุกระดับ 3.2 เพื่อให้มีดัชนีชี้วัดทางการเงินสำหรับหน่วยงานส่วนกลาง และหน่วยงานภูมิภาคในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ที่จะใช้ติดตาม เฝ้าระวังสถานการณ์การเงินการคลังและประเมินประสิทธิภาพของหน่วยบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข 3.3 เพื่อพัฒนากลไกระดับเขตและเสริมสร้างศักยภาพบุคลากรในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสาธารณสุข 3.4 เพื่อให้มีฐานข้อมูลด้านการเงินการคลัง สนับสนุนผู้บริหารและหน่วยบริการ 3.5 เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่สนับสนุนให้การดำเนินงานตามแผน ให้มีประสิทธิภาพ

3 ระบบข้อมูล ปรับปรุงผังบัญชีภาคสุขภาพ ให้เป็นมาตรฐาน และเอื้อต่อการวิเคราะห์และนำไปใช้ กำหนด Financial Standard dataset ซึ่งประกอบไปด้วยข้อมูลงบทดลอง ตามผังบัญชี 13 หลัก และเป็น Electronic file ใน Format ที่กำหนด เป้าหมาย ใช้งบทดลองแทนรายงานทางการเงินอื่นๆ (ยกเว้นงานกลุ่มคลัง) ปรับระบบการจัดส่งข้อมูล เน้นการส่งข้อมูลชุดเดียว ไปที่ office เดียว (สพค.) โดยส่งทาง Web site ทุก 3 เดือน

4 Managerial Accounting
กรรมการ Managerial Accounting ศึกษาวิธีการวิเคราะห์ ข้อมูลจาก Financial Standard dataset รวมถึง Ratio ต่างๆที่เอื้อประโยชน์ต่อการบริหารที่สามารถบ่งชี้ถึงสถานการณ์ทางการเงิน และประสิทธิภาพของสถานบริการ กรรมการ Managerial Accounting ศึกษารูปแบบรายงานบัญชีเกณฑ์คงค้างที่ผู้บริหารหน่วยงานสามารถเข้าใจง่ายขึ้น

5 ระบบ IT สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข กำหนดให้มี Software ที่สามารถประมวลผลงบดุล งบกำไรขาดทุน เปรียบเทียบรายสถานบริการ รายจังหวัด รายเขต และรายภาค ให้หน่วยงานต่างๆ สามารถเข้าถึงได้ รวมทั้งสามารถ Download ข้อมูลดิบไปใช้ในการวิเคราะห์ต่างๆได้ ผ่านหน้า Web pages หลัก ของสำนัก สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข ประมวลผลข้อมูลจาก Financial Standard dataset เป็นรายงานตามรูปแบบต่างๆ ที่หน่วยงานส่วนกลางต่างๆ จะนำไปใช้ต่อ เช่น แทน 0110 รง.5 หรือ แปลงข้อมูลเข้าสู่ GFMIS

6 การพัฒนาบุคลากร ออกหนังสือสั่งการเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติ นโยบายบัญชี และผังบัญชีใหม่ ส่งถึงทุกสถานบริการ อบรมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด เพื่อเป็นพี่เลี้ยงแก่ผู้ปฏิบัติในจังหวัดทุกจังหวัด ในช่วงต้นปีงบประมาณ อบรมผู้ปฏิบัติในงานบัญชีเกณฑ์คงค้างทุกหน่วยบริการ (บูรณาการกับกลุ่มงานคลัง) อบรมผู้บริหารสถานบริการเกี่ยวกับการอ่านบัญชีเกณฑ์คงค้าง การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ทบทวน CFO ระดับจังหวัด เน้นผู้ปฏิบัติจริง พัฒนากลไกการดำเนินงานของผู้จัดการทรัพยากร(CFO)ระดับเขตและจังหวัดในการบริหารการเงินการคลังร่วมกันระหว่างกระทรวงสาธารณสุข และ สปสช. อบรม CFO ระดับจังหวัด ระดับเขต เรื่องการวิเคราะห์ บัญชีเกณฑ์คงค้างและการนำไปใช้

7 Monitoring data ความทันเวลา : จังหวัด monitor สถานบริการ ส่วนกลาง Monitor จังหวัด ความถูกต้อง: กำหนดให้มีการตรวจสอบ Audit ปีละครั้ง : เป็น Internal audit (External Audit โดย สตง. เช่นเดิม) สร้างกลไกตรวจสอบไขว้ในระดับเขต โดย ทีม CFO ของแต่ละจังหวัด และมีผู้ตรวจ และ CFO เขต คอยดูแล

8 การวิเคราะห์ต้นทุน ปี 2550 ทดลองคิดต้นทุน แยก Front และ Back Office และวางแผนศึกษาการคิดต้นทุนแยก งาน PP ปี 2551 ทดลองคิดต้นทุน งานรักษา และงานสร้างสุขภาพ

9 การพัฒนาระยะยาว วิเคราะห์และปรับปรุงผังบัญชีระดับ สสจ.
พัฒนา Software สำหรับ Back office สำหรับสถานบริการ สนับสนุนและส่งเสริมความก้าวหน้าของบุคลากรด้านบัญชี เพิ่มอัตรากำลัง อย่างน้อยควรมี Managerial Accounting จังหวัดละ 1 คน

10


ดาวน์โหลด ppt สำนักพัฒนาการเงินการคลังสาธารณสุข

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google