งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม
เสนอในการประชุมชี้แจงเขต ระหว่างวันที่ กันยายน 2555 สำนักบริหารการจัดสรรกองทุน

2 การออกแบบการบริหารงบค่าเสื่อม ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555
ปีงบประมาณ 2556 ใช้หลักการเดียวกับปีงบประมาณ 2555

3 แนวคิด /หลักการและเหตุผล
งบค่าเสื่อม เป็นงบประมาณที่จัดขึ้นเพื่อสนับสนุนให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสม และเกิดประสิทธิภาพในการให้บริการในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าที่มีคุณภาพ ประชาชนเข้าถึงบริการสุขภาพที่จำเป็นและมีคุณภาพได้อย่างเท่าเทียมกัน

4 ความหมายของงบค่าเสื่อม
เงินกองทุนฯที่ใช้ในการจัดหา ด้วยการ จัดซื้อ จัดจ้าง หรือเช่า เพื่อการทดแทนส่วนขาด และซ่อมบำรุงครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง ที่เสื่อมสภาพ หรือถดถอย หรือเสียหายจนไม่สามารถใช้งาน ได้ดังเดิม จากการให้บริการสาธารณสุขแก่ผู้มีสิทธิ ในระบบหลักประกันฯ

5 กรอบการบริหารเงินค่าเสื่อม ปี2556
(A) ภาครัฐ (B) ภาคเอกชน (A1) ภาครัฐสังกัด สป.สธ. (A2) ตติยภูมิเขต (500 ลบ.) (A3) ภาครัฐนอก สังกัด สป.สธ. หน่วย บริการ (A1.1) ส่วนกลาง(กสธ.) 10% หน่วย บริการ (A1.2) เขต 20% หมายเหตุ 1. เงินตติยภูมิ (A2) เฉพาะเขต 9 และ13 ตัดจากงบของเอกชนมารวมด้วย 2. เงินในข้อ A1.3 ต้องจัดสรรให้หน่วยบริการ ไม่น้อยกว่า 50% (A1.3) จังหวัด/หน่วยบริการ 70% หน่วยบริการ

6 เกณฑ์การจัดสรร

7 หน่วยบริการที่สามารถรับงบค่าเสื่อม หน่วยบริการในระบบ UC ทุกสังกัด
บริการ OP PP IP บริการ IP รับงบค่าเสื่อมจาก การให้บริการ OP PP IP การให้บริการ OP PP การให้บริการ IP ยกเว้น หน่วยบริการรับส่งต่อเฉพาะโรค บริการ OP PP

8 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP
หลักการคำนวณเงิน สัดส่วนการแบ่ง ข้อมูลที่ใช้ วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ OP+PP ประชากร เดือน ตค.55 วงเงินของค่าเสื่อมจากการบริการ IP Sum adj. RW 10 เดือน ของปีงบประมาณที่ผ่านมา สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สปสธ. นำวงเงินรวมมาคำนวณจัดสรรให้หน่วยบริการอีกครั้งตามจำนวนประชากรที่ลงทะเบียนกับหน่วยบริการแต่ละแห่ง

9 การจัดสรรเงิน ไม่มีการจัดสรรงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการ
ที่เข้าใหม่ระหว่างปี กรณีที่มีหน่วยบริการลาออก และมีการโอนถ่าย ประชากรกลางปีงบประมาณ ให้สำนักงานฯเขต พิจารณาโอนงบค่าเสื่อมให้กับหน่วยบริการที่รับ ดูแลประชากรจริงตามสัดส่วนที่ให้บริการ

10 การเรียกคืนงบค่าเสื่อม
ปี 49-50 ปี 51-56 เนื่องจากมีการจัดสรรงบลงทุนทดแทนทั่วไป จำนวน 70 % และงบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ อีก 30% ให้กับหน่วยบริการ ดังนั้น การลาออกจากโครงการทุกครั้ง จะมีการคิดค่าเสื่อมในส่วน 30% ของ งบปฐมภูมิ, งบตติยภูมิ ด้วย จะไม่มีการเรียกคืนงบค่าเสื่อม(งบลงทุน)หากอยู่ครบปีงบประมาณ เนื่องจากมีการแยกชัดเจนกับงบที่มีการพัฒนา การเรียกคืนงบค่าเสื่อมจะเกิดขึ้นกรณีที่หน่วยบริการไม่สามารถให้บริการสาธารณสุขจนครบปีงบประมาณของสัญญาการให้บริการสาธารณสุข

11 สรุป งบค่าเสื่อมในส่วนของ สป.สธ. มีการปรับดังนี้ 1) อัตรา/ปชก. ลดลง
จาก 2) เงินระดับเขต ลดลง จาก 30% % 3) มีการรวมกันของระดับจังหวัดและระดับ หน่วยบริการ เป็น 70% โดยกำหนดให้ จัดสรรให้หน่วยบริการจากเดิม 40% ไม่น้อยกว่า 50 % มีการกันเงิน 500 ล้านบาทเพื่อการพัฒนา ตติยภูมิเฉพาะด้าน โดยไม่มี central pool


ดาวน์โหลด ppt การบริหารงบกองทุนฯ ปีงบประมาณ 2556 งบค่าเสื่อม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google