งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน
ปีงบประมาณ 2553 โดย นายแพทย์สมศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย 7 ตุลาคม 2552

2 ระบบบริการคุณภาพ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด/หลังคลอด คลินิกสุขภาพเด็กดี  ฝากครรภ์คุณภาพ - ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ - คัดกรอง Thal / HIV  โรงเรียนพ่อแม่  อาหาร และโภชนาการ  ทันตสุขภาพ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  รพ.ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย  รพ.สายสัมพันธ์แม่-ลูก  โรงเรียนพ่อแม่  คลินิกนมแม่  คัดกรองทารกแรกเกิด - Thyroid / PKU  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว  WCC คุณภาพ  โรงเรียนพ่อแม่  ตรวจพัฒนาการเด็ก  โภชนาการ  นิทาน ของเล่น  ทันตสุขภาพ  ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ชุมชน ชมรมเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ / ชมรมแม่อาสา/ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ผลลัพธ์  ทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 30 ต่อพันการเกิดมีชีพ  ทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมลดลงจากฐานข้อมูลเดิม ปีละ ร้อยละ 0.5  เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เพิ่มขึ้นจากฐานข้อมูลเดิม ปีละ ร้อยละ 2.5  เด็ก 0 – 5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 90 %

3 แผนที่ยุทธศาสตร์การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กประเทศไทย
เพื่อแม่และเด็กมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ รพ.ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล แม่และเด็กมีพฤติกรรมสุขภาพดีขึ้น ประชาชน ชุมชนมีศักยภาพ ชุมชนมีแผนงาน โครงการนวตกรรม Book start อาหารตามวัย โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ศูนย์เด็กเล็กเรียนรู้ อปท. มีส่วนร่วม และดำเนินการอย่างต่อเนื่อง ภาคี เครือข่าย แกนนำ/ชุมชนมีส่วนร่วมและดำเนินการอย่างต่อเนื่อง สื่อมวลชนมีส่วนร่วม รัฐ เอกชน NGO มีส่วนร่วม มีนวัตกรรม/รูปแบบ/มาตรฐานงานอนามัยแม่และเด็กที่เหมาะสม มีระบบการจัดการที่ดี มีระบบสื่อสารประชาสัมพันธ์ที่มีประสิทธิภาพ กระบวน การ พัฒนาทีมประเมิน มีระบบการสร้างความสัมพันธ์ทีดี หนังสือเล่มแรก อาหารเสริมตามวัย คลินิกฝากครรภ์คุณภาพ คลินิกเด็กดีมีคุณภาพ คลินิกให้คำปรึกษาเป็นคู่ องค์กรมีผู้นำที่มีศักยภาพ และทำงานเป็นทีม รากฐาน Child developt มีบรรยากาศและแรงจูงใจการปฏิบัติงานที่ดี บุคลากรมีทักษะ และสมรรถนะที่เหมาะสม มีระบบสารสนเทศที่ครบถ้วนถูกต้องทันสมัย

4 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร
โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทอง นโยบาย / การบริหารจัดการ / โครงการร่วมโรงเรียนและชุมชน / การจัดสิ่งแวดล้อม / อนามัยโรงเรียน / สุขศึกษา / โภชนาการ / ออกกำลังกาย / การให้คำปรึกษา / ส่งเสริมสุขภาพ การดำเนินงานสุขภาพของนักเรียนแกนนำเช่น ชมรมเด็กไทยทำได้ / อย.น้อย / อสร./ ยสร. /To be # 1 1. ภาวะสุขภาพของ นร. - Wt / Ht - Ht / Age - Physical activity - Mental health - โครงงาน สส. / สว. 2. โครงการแก้ไขปัญหา ในโรงเรียน - ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง - ต้นกล้าเศรษฐกิจ พอเพียง 3. นโยบาย กท.ศธ - น้ำดื่มสะอาดพอเพียง - สุขาน่าใช้ - โภชนาการ และ สุขาภิบาล (ลดหวาน มัน เค็ม ปลอดน้ำอัดลม) - ป้องกันบาดเจ็บ - ป้องกันสภาวะแวดล้อม เป็นพิษ - บุหรี่

5 แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ภายในปี พ.ศ.2554 เด็กไทยทำได้ สภาเด็กและเยาวชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีความตระหนัก ความรู้ และทักษะชีวิตด้านส่งเสริมสุขภาพ เป็นบุคคลต้นแบบเด็กไทยทำได้ KPI:เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นเป็นต้นแบบด้านสุขภาพ 15 14 13 ครอบครัวมีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพ จัดตั้งแกนนำ/เครือข่ายครอบครัว KPI:แกนนำ/เครือข่ายครอบครัวสามารถทำบทบาทการเฝ้าระวังพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อมในครอบครัวและชุมชน เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมีศักยภาพ จัดตั้งชมรม/แกนนำ/เครือข่าย/ศูนย์เรียนรู้ KPI:แกนนำเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ระดับประชาชน (Valuation) ชุมชนมีแผนงาน/โครงการและนวัตกรรม ส่งเสริมให้มีระบบเฝ้าระวังภาวะสุขภาพ KPI:มีแผนชุมชน/นวัตกรรมเพื่อการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 12 รร.ระดับเพชร 9 สถานศึกษาพัฒนาศักยภาพ สร้างองค์กรต้นแบบ KPI: มีโรงเรียนต้นแบบ 11 10 อปท.มีส่วนร่วมและสนับสนุน มีแผนพัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นแบบบูรณาการ KPI:อปท.บรรจุแผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นในแผนพัฒนาท้องถิ่น ภาครัฐ/เอกชนสนับสนุน บูรณาการงานร่วมกัน (Stakeholder) ระดับภาคี RH Clinic สธ.สนับสนุนวิชาการและบริการสุขภาพ มีสถานบริการสุขภาพต้นแบบ KPI: มีสถานบริการที่ให้บริการที่เป็นมิตรแก่เด็กวัยเรียนและวัยรุ่น 8 แผน RH จังหวัด มีระบบกำกับติดตามและประเมินผล พัฒนาระบบกำกับติดตาม 7 มีการบริหารจัดการ ภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างการมีส่วนร่วม KPI:ภาคีเครือข่ายสามารถจัดทำกิจกรรม/โครงการฯ 6 ระดับกระบวนการ (Management) ระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาสื่อบุคคล KPI:มีสื่อความรู้ที่เหมาะสมกับพื้นที่ 5 มีการพัฒนานวัตกรรมและองค์ความรู้ มีการจัดการความรู้ KPI:มีองค์ความรู้และนวัตกรรมที่สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ 4 GSHS ทันตะ โภชนาการ สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง KPI: มีแผนพัฒนาบุคลากรตามประเด็นสมรรถนะที่เป็นปัญหาต่อการปฏิบัติงาน 2 ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1 มีระบบข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพที่ทันสมัย KPI: มีฐานข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและถูกต้อง มีวัฒนธรรมองค์กที่เอื้ออำนวย สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการทำงาน KPI: มีสถานที่ทำงานตามเกณฑ์มาตรฐาน 3 5

6 อ้วนลงพุง กรอบแนวคิดการดำเนินงานลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะน้ำหนักเกิน
สร้างนโยบายสาธารณะ และสิ่งแวดล้อมที่ลด ปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลกระทบ ต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อิทธิพลสิ่งแวดล้อม/สังคม - การตลาดด้านอาหาร - กระแสตะวันตก - สื่อ - ปัจจัยเอื้อทางกายภาพ เช่น สถานที่ออกกำลังกาย การเข้าถึงแหล่งอาหาร ขาดการออกกำลังกาย Energy out (-) ปัจจัยด้านชีวภาพ พันธุกรรม ทัศนคติ อ้วนลงพุง ปัจจัยด้านพฤติกรรม ระบบบริการสาธารณสุข -การให้คำปรึกษา -การรณรงค์ PR -คลินิกลดไขมัน -ระบบเฝ้าระวังภาวะเสี่ยง Energy in (+) -พัฒนาองค์ความรู้ -สร้างพันธมิตร ภาคีเครือข่าย ขับเคลื่อนในระดับชาติ การบริโภคอาหารไม่เหมาะสม กินปริมาณมาก กินหวาน/มันมาก

7 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ.
แผนที่ยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM) การแก้ไขปัญหาโรคอ้วน ภายในปี ของกรมอนามัย KRI 1.ประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 90 ซม. 2.ประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวน้อยกว่า 80 ซม. 3.เด็กอายุ 6 – 14 ปี มีน้ำหนักเทียบกับส่วนสูงเป็นปกติ 16. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพตามหลักการ 3 อ. ร้านอาหารไทยไร้พุง องค์กรไร้พุงต้นแบบ 15 ประชาชนสามารถประเมินและเฝ้าระวังพฤติกรรมด้านโภชนาการ ออกกำลังกาย และอารมณ์ได้ ด้วยตนเอง ระดับประชาชน (Valuation) 14. ประชาชนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ด้านพฤติกรรมตามหลักการ 3 อ. 13. ชุมชน/องค์กร มีแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุง S : พัฒนาให้ประชาชนมีทักษะประเมินและเฝ้าระวังตนเอง S : สร้างแกนนำคนไทยต้นแบบไร้พุงในองค์กร/ชุมชน 2.8 แสนคน KPI : ประชาชนสามารถประเมินตนเองและปฏิบัติตนด้วย 3 อ. 150 องค์กร S :สร้างและพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 70% KPI : แกนนำสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ KPI : ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถใช้แหล่งเรียนรู้ 12. ชุมชน องค์กร ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับ ทุกภาคส่วน มีการผลิตเทคโนโลยี นวัตกรรม คนไทยไร้พุง S : ส่งเสริมหน่วยงานภาครัฐ/เอกชน/รร./อปท. ให้เป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง KPI : องค์กรสามารถบริหารจัดการเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง 9. หน่วยงานภาครัฐ / เอกชน / รร./อปท. สามารถบริหารจัดการสู่องค์กรต้นแบบไร้พุง 11. องค์กรทุกระดับและทุกภาคส่วนมีนโยบาย/มาตรการทางสังคม/กฎ ระเบียบ และนำไปใช้สู่การปฏิบัติ S : พัฒนาศักยภาพและส่งเสริมการตลาด ผู้ประกอบการ ในการผลิตผลิตภัณฑ์คุณภาพด้านอาหารและออกกำลังกาย KPI : ชุมชนองค์กรผู้ผลิต ผู้ค้าสามารถผลิตเทคโนโลยีนวัตกรรมคนไทยไร้พุง 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะด้านคนไทยไร้พุง 294 ร้าน/21 ราย/7แห่ง/ 1 รูปแบบ KPI : องค์กรสามารถปฏิบัติตามนโยบายสาธารณะ (Stakeholder) ระดับภาคี 150 แห่ง 10. ชุมชน องค์กร/ผู้ผลิต ผู้ค้าทุกระดับทุกภาคส่วน ได้รับการถ่ายทอดแผนยุทธศาสตร์/องค์ความรู้สู่การปฏิบัติ 8. สถานบริการพัฒนาสู่การเป็นต้นแบบ DPAC (คลินิกไร้พุง) จังหวัด DPAC S : ผลักดันให้มีการจัดตั้ง DPAC 42 แห่ง S : ผลักดันสนับสนุนการถ่ายทอดยุทธศาสตร์/องค์ความรู้ KPI :สถานบริการสามารถบริการได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน KPI : - ภาคีสามารถนำแผนที่ยุทธศาสตร์ไปใช้ - ภาคีสามารถนำองค์ความรู้ไปใช้ รณรงค์จังหวัดไร้พุงปี 2 150 แห่ง 5. มีระบบการบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 7. มีระบบเฝ้าระวัง ระบบข้อมูลสารสนเทศ และการจัดการความรู้ที่ทันสมัย S : พัฒนาระบบบริหารจัดการและประสานงานภาคีเครือข่าย 6. มีระบบสื่อสารสังคมที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถบริหารโครงการและประสานงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด 150 องค์กร S : สนับสนุนให้มีการประสานงานและบริหารความสัมพันธ์กับเครือข่ายสื่อมวลชน ระดับกระบวนการ (Management) S : พัฒนาระบบเฝ้าระวัง ข้อมูลสารสนเทศ/การจัดการความรู้ที่ทันสมัย Face book / Twitter KPI : ภาคีเครือข่ายสามารถใช้และเชื่อมต่อระบบ – เฝ้าระวัง – สารสนเทศ – องค์ความรู้ KPI : ภาคีสื่อมวลชนสามารถสื่อสารสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1 ระบบ 5 ช่องทาง 4. มีแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ S : จัดทำแผนกับภาคีเครือข่ายอย่างมีส่วนร่วม 90% KPI : ภาคีมีส่วนร่วมในการทำแผนที่ยุทธศาสตร์แบบบูรณาการ 3.ระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย ถูกต้อง ครบถ้วน เข้าถึงได้ 2.สมรรถนะของบุคลากรสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ระดับพื้นฐาน (Learning /Development) 1.วัฒนธรรมที่ดี S : พัฒนาระบบข้อมูลให้ทันสมัย เป็นจริง S :ปลูกฝัง ส่งเสริม สนับสนุนให้ปฏิบัติตามวัฒนาธรรมอย่างต่อเนื่อง 7 7 KPI : เครือข่ายเชื่อมต่อระบบและใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน S : พัฒนาสมรรถนะบุคลากรให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ 240 องค์กร KPI : บุคลากรผ่านเกณฑ์การประเมิน HAT 95% KPI : บุคลากรที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตาม Competency 90% 7 7 7

8 แนวคิดการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
แพทย์/พยาบาล ฯลฯ - บริการโรคเรื้อรัง - สมรรถนะ - ระบบส่งต่อ ผู้ช่วยผู้ดูแล หลักสูตร มาตรฐาน พัฒนาสมรรถนะ ต้องพึ่งคนอื่น - บริการทางการแพทย์ - การดูแล กาย ใจ สังคม กองทุนบำนาญ แห่งชาติ ? ส่งเสริมสุขภาพ ไร้พุง คัดกรอง สมองดี อาสาสมัคร สภา / ชมรม นโยบายที่บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ปฏิบัติได้ คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ พึ่งตนเอง ช่วยคนอื่นได้ ผู้ช่วยผู้ดูแล - หลักสูตร - มาตรฐาน - พัฒนาศักยภาพ การดูแลในชุมชน - อาสาสมัคร - ชมรม - พระ - ระบบบริการทางการแพทย์คุณภาพ - การมีส่วนร่วมของท้องถิ่น ดูแลตนเองได้บ้าง - การดูแลทางกาย ใจ - การดูแลทางสังคม การดูแลที่บ้าน ศูนย์ดูแลกลางวัน วัดส่งเสริมสุขภาพ

9 แนวคิดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ตรวจสุขภาพประจำปี กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการเป็นจิตอาสา พัฒนาคลังสมองในชมรมผู้สูงอายุ สนับสนุนการพึ่งตนเองของผู้สูงอายุ สนับสนุนคลังสมองของผู้สูงอายุ พัฒนาศักยภาพชมรมผู้สูงอายุ กลุ่มที่ 1 พึ่งตนเองได้ ตรวจสุขภาพประจำปี Home Visit / Home Health Care กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเฉพาะโรค สนับสนุนให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วม ในกิจกรรมของครอบครัว ชมรม ชุมชน วัด ฯลฯ พัฒนาระบบบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ บริหารความสัมพันธ์ภาคีเครือข่าย เพิ่มศักยภาพภาคีเครือข่าย กลุ่มที่ 2 พึ่งตนเองได้บ้าง ผู้สูงอายุ ประเมินพฤติกรรมสุขภาพ และตรวจสุขภาพประจำปี Home Visit / Home Health Care กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเฉพาะโรค พัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้สูงอายุ รูปแบบสถานฟื้นฟูสภาพชุมชน รูปแบบสถานบริบาลชุมชน ผลิตพัฒนาองค์ความรู้และนวัตกรรม กลุ่มที่ 3 พึ่งผู้อื่น กลุ่มอนามัยผู้สูงอายุ 29/04/52

10 ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ
แผนที่ยุทธศาสตร์ปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภายในปี พ.ศ – กรมอนามัย GOAL : “ผู้สูงอายุมีสุขภาพดี อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพ” ผู้สูงอายุตระหนักรู้ คุณค่าของตนเอง ประชาชน (Valuation) ชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ มีแผนชุมชนพึ่งตนเองได้ในเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ชุมชนมีศักยภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุมีศักยภาพดำเนินงานด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสนับสนุนการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภาคีอื่น ๆ สนับสนุนการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ภาคีด้านสาธารณสุขมีศักยภาพการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน รูปแบบ LTC ฟันเทียมพระราชทาน มติมหาเถรสมาคม วัดส่งเสริมสุขภาพ แกนนำพระสงฆ์ มีการบริหารจัดการเครือข่ายที่เข้มแข็ง พัฒนาระบบสารสนเทศด้านส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ พัฒนานวัตกรรม และองค์ความรู้ กระบวนการ (Management) ตำบลผู้สูงอายุต้นแบบ การส่งเสริมสุขภาพ ช่องปาก พัฒนาการบริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ เฝ้าระวังสถานะสุขภาพผู้สูงอายุ พื้นฐาน (Learning / Development) ระบบฐานข้อมูล มีประสิทธิภาพ สมรรถนะและทักษะบุคลากรเป็นมืออาชีพ องค์กรมีวัฒนธรรมที่เอื้อต่อ การทำงานแบบเชื่อมโยง

11 แผนที่ทางเดินยุทธศาตร์ปฏิบัติการ ( SLM )
ร่วมแสดง Road Map ( เส้นสีแดง ) ประชาชน (Valuation) ภาคีเครือข่าย (Stakeholder) กระบวน การ (Management) พื้นฐาน (Learning / Development) ประชาชนปรับเปลี่ยน พฤติกรรม ชุมชนมีมาตรการ ทางสังคม ชุมชนมีโครงการของ ชุมชนโดยชุมชน ชุมชนมีระบบเฝ้าระวัง ที่มีประสิทธิภาพ อปท.ร่วมตัดสินใจ ขับเคลื่อน และสนับสนุนทรัพยากรอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง กลุ่มองค์กรในและนอก พื้นที่มีบทบาท หน่วยงานภาครัฐทุกระดับสนับสนุนและประสานงานอย่างเข้มแข็ง ระบบสื่อสาร สารสนเทศ มีประสิทธิภาพ การจัดการนวัตกรรมที่ดี ระบบบริหารจัดการองค์กรและ ภาคีเครือข่ายมีประสิทธิภาพ ระบบข้อมูลมีคุณภาพ องค์กรมีบรรยากาศ เอื้ออำนวยต่อการทำงาน บุคลากรแกนนำมีสมรรถนะ ที่เหมาะสม

12 สรุปการดำเนินงานสายส่งเสริมสุขภาพ
สถานบริการ องค์กรอื่นๆ ชมรม/แกนนำ พฤติกรรม MCH รพ.สายใยรัก ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ชมรมสายใยรักแห่งครอบครัว ANC/กินนมแม่ /อาหารตามวัย / เล่านิทาน + เล่นกับลูก วัยเรียน รพ.RH โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ชมรมเด็กไทย ทำได้ Safe sex / กินผักผลไม้ / แปรงฟันทุกวันก่อนนอน วัยทำงาน DPAC องค์กรต้นแบบไร้พุง ชมรมสร้างสุขภาพ 3 อ. วัยสูงอายุ คลินิกส่งเสริมสุขภาพ วัดส่งเสริมสุขภาพ ชมรมผู้สูงอายุ

13 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt การสนับสนุนทางวิชาการ ต่อการดำเนินงานของ โรงพยาบาลชุมชน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google