งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น วันที่ เมษายน 2554 ณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา

2

3 ความคาดหวัง/สิ่งที่อยากเห็น วัยรุ่นจังหวัดฉะเชิงเทรา
วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรม อนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตสาธารณะต่อสังคมและมีส่วนร่วมในการสร้างภาพพจน์ที่ดีแก่จังหวัด

4 ระดับประชาชน (วัยรุ่น)
ผังจุดหมายปลายทางการพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) ระดับประชาชน (วัยรุ่น) วัยรุ่นมีความรู้และทักษะชีวิตในการดูแลตนเองที่ถูกต้องและมีพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธุ์ ครอบครัวมีอบอุ่น และมีความเข้มแข็ง และมีความพร้อมในการดูแลวัยรุ่น (เอาใจใส่) โดยเข้าใจปัญหาและ การเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย - ชุมชนเข้มแข็ง ให้ความสำคัญดูแลวัยรุ่น จัดเวทีแลกเปลี่ยนความคิด การแสดงออกที่หลากหลาย โดยเน้นการมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายของชุมชน โดยมีแผนงานและโครงการรองรับที่ชัดเจนและต่อเนื่อง ระดับภาคี ตำรวจ จัดมาตรฐานคุ้มครองเด็ก - สาธารณสุข จัดบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นและประชาสัมพันธ์เพื่อให้เข้าถึงบริการ ศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนเพศศึกษาและทักษะชีวิต ท้องถิ่น สร้างสิ่งแวดล้อมและกิจกรรมสร้างสรรค์และสนับสนุนงบประมาณ หน่วยงานเอกชน สนับสนุนงบประมาณให้กับชุมชน มีการส่งเสริมอาชีพและรายได้โดยกรมแรงงาน วัฒนธรรมมีการจัดกิจกรรม /สถานที่ที่เอื้อต่อการส่งเสริม คุณภาพชีวิต พม.จ. พัฒนาครอบครัว มีการพัฒนาและสร้างองค์ความรู้และสื่อโดยประชาสัมพันธ์จังหวัด มีการดำเนินภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ระดับกระบวนการ สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงาน สร้างระบบติดตามประเมินผล สร้างช่องทางในการประชาสัมพันธ์ทีหลากหลาย เช่น เคเบิ้ลทีวี วิทยุ อินเตอร์เน็ต เว็บไซด์ ฯลฯ สร้างกระบวนการให้เด็กมีส่วนร่วม มีการจัดการความรู้ นวัตกรรม และงานวิจัย มีกระบวนการประสานงาน /การสื่อสารที่ดี เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ระดับพื้นฐาน มีระบบฐานข้อมูลที่ครบถ้วน ทันสมัย และเข้าถึงได้ง่าย บุคลากรมีความรู้ ทักษะด้านอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่น อย่างมืออาชีพ มีทิศทางและนโยบายที่ชัดเจน ประสานความร่วมมือทุกภาคส่วน

5 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์ในวัยรุ่น จังหวัดฉะเชิงเทรา
ภายใน ๔ ปี (๒๕๕๔-๒๕๕๗) (SRM) ภายในปี พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๕๗ วัยรุ่นมีความรู้ มีทักษะชีวิตและพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม มีบุคลิกภาพความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี มีคุณธรรมและจริยธรรม มีจิตสาธารณะต่อสังคมและมีส่วนร่วมในการสร้างภาพพจน์ที่ดีแก่จังหวัด ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง -สร้างครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง -ส่งเสริมกิจกรรมครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม -ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง -สร้างความตระหนักในคุณค่าของตนเอง -ส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่ถูกต้อง ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ -สร้างเครือข่ายการเฝ้าระวังอนามัย การเจริญพันธุ์ -สนับสนุนการจัดทำแผนงาน/โครงการพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์ -ส่งเสริมการจัดการความรู้ในชุมชน ระดับประชาชน (Valuation) สธ.ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -สนับสนุนวิชาการแก่ภาคีเครือข่าย -พัฒนาศักยภาพบุคลากรผู้ให้บริการ ศธ.จัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ด้านเพศศึกษา -ส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างรอบด้าน -พัฒนาระบบการช่วยเหลือนักเรียน -พัฒนาระบบบริการแนะแนวอย่างมีคุณภาพ พม.จ. สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข็มแข็งและยั่งยืน -ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันครอบครัว -ขยายการจัดตั้งสภาเด็กและเยาวชนให้ครอบคลุมทั้งระดับจังหวัดและท้องถิ่น -เร่งรัดการประชาสัมพันธ์แบบต่อเนื่อง อปท./แกนนำเครือข่ายสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง -บรรจุเข้าแผนสุขภาพของ อปท. -สนับสนุนลานกิจกรรมอย่างเพียงพอ -จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ -ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร มท./วธ. สนับสนุนการดำรงชีวิตแบบวิถีไท ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม คุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน จัดระเบียบสังคม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย (Stakeholder) ระดับภาคี มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ ส่งเสริมการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ส่งเสริมงานวิจัย มีระบบภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ -สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงานโดยมีเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพร่วมดำเนินงาน -สร้างกระบวนการให้เด็กเข้ามามีส่วนร่วม -พัฒนาศักยภาพภาคีเครือข่าย -ส่งเสริมการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย -พัฒนาวิธีการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพ -ส่งเสริมด้านประชาสัมพันธ์ให้ทั่วถึงและเข้าถึงง่าย มีระบบติดตาม/ประเมินผล ที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนาศูนย์ประสานงานระดับจังหวัด สร้างแนวทางการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม พัฒนาระบบติดตามและประเมินผล ระดับกระบวนการ มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย -พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย เข้าถึงง่าย -พัฒนาผู้ดูแลและผู้ใช้ -ประชาสัมพันธ์ให้ครอบคลุม บุคลากรมีความรู้ทักษะอย่างมืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพบุคลากร -สร้างเครือข่ายอนามัยการเจริญพันธุ์ทุกระดับ -มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้อนามัยการเจริญพันธุ์ ทุกระดับ จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน -สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่ม สหวิชาชีพ -กำหนดนโยบายการดำเนินงานชัดเจน -พัฒนาแผนงานโครงการแบบบูรณาการ ระดับ พื้นฐาน 5 5

6 ประชาชน ภาคี กระบวนการ พื้นฐาน
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ปฏิบัติการ (SLM) การพัฒนาอนามัยเจริญพันธุ์จังหวัดฉะเชิงเทรา ภายในปี ๒๕๕๔ (ระยะ ๒ ปี) วันรุ่นและเยาวชนมีความรู้ ทักษะชีวิตและ มีพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่เหมาะสม ส่งเสริมพฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง ครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง สร้างครอบครัวอบอุ่นและเข้มแข็ง ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ สร้างเครือข่ายด้านการเฝ้าระวังอนามัยการเจริญพันธุ์ ประชาชน มท./วธ.สนับสนุนการดำรงชีวิต แบบวิถีไท ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรม สธ.ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์บริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น พม.จ.สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข็มแข็งและยั่งยืน ส่งเสริมและสนับสนุนสถาบันครอบครัว อปท./แกนนำเครือข่ายสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานอย่างเพียงพอ และต่อเนื่อง บรรจุเข้าแผนสุขภาพของอปท. ภาคี ศธ.จัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ ด้านเพศศึกษา ส่งเสริมการเรียนรู้เพศศึกษาอย่างรอบด้าน มีนวัตกรรมและองค์ความรู้ ส่งเสริมการจัดการความรู้ มีระบบติดตามและประเมินผล จัดตั้งศูนย์ประสานงานระดับจังหวัด มีระบบการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาช่องทางการสื่อสารให้มีความหลากหลาย กระบวนการ มีระบบภาคีเครือข่ายที่มีประสิทธิภาพ สร้างระบบขับเคลื่อนการทำงานโดยมีเจ้าภาพหลักและเจ้าภาพร่วมดำเนินการ จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน สร้างเครือข่ายประสานงานระหว่างกลุ่มสหวิชาชีพ มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้ทันสมัย เข้าถึงง่าย พื้นฐาน บุคลากรมีความรู้ทักษะ อย่างมืออาชีพ พัฒนาศักยภาพบุคลากร 6 6

7 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.วัยรุ่นและเยาวชนมี ความรู้และทักษะชีวิต มีพฤติกรรมอนามัย การเจริญพันธุ์ที่ เหมาะสม -ส่งเสริมพฤติกรรม เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง 1.อบรมความรู้ เกี่ยวกับอนามัยการ เจริญพันธุ์ให้แก่สภา เด็กและเยาวชน 2.จัดค่ายเยาวชนให้ ความรู้เพื่อกระตุ้นให้ เยาวชนได้รับการส่ง เสรมด้านอนามัยการ เจริญพันธุ์ที่ถูกต้อง 3.คัดเลือกแกนนำจิต อาสาวัยรุ่นเพื่อ รณรงค์เกี่ยวกับงาน อนามัยการเจริญ พันธุ์/ร่วมวางแผน กิจกรรมกับเครือข่าย 4.สร้างสภาเด็กและ เยาวชนให้ครอบคลุม ทุกตำบล -สภาเด็กและเยาวชน ระดับตำบลได้รับการ อบรม ร้อยละ 50 -พม.จ. -หน่วยงานในสังกัด กระทรวงศึกษาธิการ -เทศบาล/อบต. -สธ. -วธ. -สสส. 7

8 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.ครอบครัวอบอุ่นและ เข้มแข็ง -สร้างครอบครัว อบอุ่นแลเข้มแข็ง 1.ส่งเสริมกิจกรรม สร้างความสัมพันธ์ใน ครอบครัว 2.สร้างเครือข่าย ครอบครัวเข้มแข็ง 3.ให้ความรู้ผู้ปกครอง ด้านการเปลี่ยนแปลง พัฒนาการตามวัย รวมทั้งปัญหาของ วัยรุ่นในปัจจุบัน 4.จัดประกวด ครอบครัวอบอุ่นเพื่อ เป็นต้นแบบในชุมชน -ศูนย์พัฒนาครอบครัว ตำบลทุกแห่งมีกิจกรรม เสริมสร้างความสัมพันธ์ ในครอบครัวอย่างน้อย 3 ครั้ง -พม.จ. -อบต./อบจ./ เทศบาล -ผู้นำชุมชน -อาสาสมัครในพื้นที่ -สธ. -ศธ. -ICT -มท. 8

9 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับประชาชน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ชุมชนมีส่วนร่วมใน การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ -สร้างเครือข่ายการ เฝ้าระวังอนามัย การเจริญพันธุ์ 1.จัดเวทีประชาคม เพื่อจัดทำแผน โครงการด้านอนามัย การเจริญพันธุ์ 2.มีการจัดทำแผน ชุมชน 3.มีการสร้างมาตรการ เฝ้าระวังในชุมชน 4.สร้างมาตรการใน ชุมชน -ทุกตำบลมีเครือข่าย การเฝ้าระวังอนามัยการ เจริญพันธุ์ -พม.จ. -อปท. -สธ. -ผู้นำชุมชน -พัฒนาชุมชน -วธ. -มท. -ICT 9

10 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.สนับสนุน งบประมาณในการ ดำเนินงานอย่าง เพียงพอและต่อเนื่อง -บรรจุเข้าแผน สุขภาพของ อบต./ เทศบาล 1.จัดทำแผนชุมชน 2.จัดทำประชาคม ระดับตำบล 3.ผลักดันแผนเข้าสู่ แผนชุมชน 4.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร 5.สนับสนุนลาน กิจกรรมอย่าง เพียงพอ 6.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ -ทุก อบต./เทศบาล.มี การสนับสนุนงบประมาณ การพัฒนาอนามัยการ เจริญพันธุ์ในวัยรุ่นและ เยาวชนอย่างน้อย 1 แผนงาน/โครงการ -เทศบาล/อบต. -สธ./รพ.สต. -ศธ. -ผู้นำชุมชน -พัฒนาชุมชน -พม.จ. -ตำรวจ 10

11 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มหาดไทย/ วัฒนธรรมสนับสนุน การดำรงชีวิตแบบวิถี ไทย -ส่งเสริมคุณธรรม และจริยธรรม 1.จัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรมและจริยธรรม 2.จัดระเบียบสังคม 3.บังคับใช้ พรบ. คุ้มครองเด็ก พ.ศ 4.ประกวดเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย -ทุกอำเภอต้องมีเยาวชน ต้นแบบด้านอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทยอย่างน้อย 1 คน -สถานศึกษา -วธ. -ตำรวจ -ปกครองจังหวัด -สำนักพระพุทธ ศาสนา -สภาวัฒนธรรม จังหวัด/อำเภอ/ ตำบล -อัยการ 11

12 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.ส่งเสริมการจัดตั้ง ศูนย์บริการสุขภาพที่ เป็นมิตรกับวัยรุ่น -พัฒนาระบบ บริการที่เป็นมิตร กับวัยรุ่น 1.จัดตั้งคลินิกบริการ สุขภาพที่เป็นมิตร สำหรับวัยรุ่นและ เยาวชน 2.จัดอบรมบุคลากร และแกนนำเยาวชนที่ เกี่ยวข้องกับสถาน บริการ 3.พัฒนาภาคี เครือข่ายในการส่งต่อ ข้อมูลข่าวสารและการ ดูแลบริการอย่าง ต่อเนื่องรวมทั้งการ ติดตาม -ทุกสถานบริการในระดับ อำเภอและจังหวัดมี บริการที่เป็นมิตรกับวัยรุ่น -สสจ.ฉะเชิงเทรา -รพท./รพช. -สถานศึกษา -อปท./เทศบาล -ศูนย์วัฒนธรรม -บ้านพักเด็ก และครอบครัว

13 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.จัดกระบวนการเรียนรู้ด้านเพศศึกษา -ส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่องเพศศึกษา อย่างรอบด้าน 1.จัดการเรียนการ สอนทักษะชีวิต 2.พัฒนาระบบการ ดูแลช่วยเหลือ นักเรียนให้มีคุณภาพ 3.พัฒนาระบบการ แนะแนวให้มีคุณภาพ 4.จัดกระบวนการเรียน การสอนเรื่อง เพศศึกษาอย่างรอบ ด้าน 5.สร้างเครือข่ายครู สอนเพศศึกษา -อำเภอมีโรงเรียนที่มีการ สอนเพศศึกษาอย่างรอบ ด้านอำเภอละหนึ่งแห่ง -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -อาชีวศึกษา -โรงเรียนเอกชน -สถาบันราชภัฏ -กศน. -สธ.

14 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับภาคี วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 5.พม.จ.สนับสนุนศูนย์ประสานเครือข่ายให้เข้มแข็งและยั่งยืน -ส่งเสริมและ สนับสนุนสถาบัน ครอบครัว 1.จัดตั้งสภาเด็กและ เยาวชนให้ครอบคลุม ทุกตำบล 2.พัฒนาศักยภาพ ครอบครัวอบอุ่นให้มี ความเข้มแข็ง 3.จัดพื้นที่และ กิจกรรมสร้างสรรค์ สำหรับวัยรุ่น 4.ติดตามการทำงาน ของเครือข่ายทุก 6 เดือน -มีศูนย์ประสานเครือข่าย อย่างเข้มแข็งและยั่งยืน อำเภอละ 1 แห่ง -อปท./เทศบาล -พม.จ. -ปชส. -วิทยุชุมชน

15 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.มีระบบภาคี เครือข่ายที่มี ประสิทธิภาพ -สร้างระบบ ขับเคลื่อนการ ทำงานโดยมี เจ้าภาพหลักและ เจ้าภาพร่วม ดำเนินงาน 1.แต่งตั้ง คณะกรรมการ/ คณะทำงานอนามัย การเจริญพันธุ์ทุก ระดับ(จังหวัด/ อำเภอ/ตำบล) 2.สัมมนาคณะทำงาน พัฒนางานอนามัย การเจริญพันธุ์ สร้าง ความรู้ความเข้าใจ 3.จัดทำแผนที่ ทางเดินยุทธศาสตร์ อนามัยการเจริญพันธุ์ ในพื้นที่ร่วมกัน ระหว่างเครือข่าย -มีแผนที่ทางเดิน ยุทธศาสตร์พัฒนา อนามัยการเจริญพันธุ์ ในวัยรุ่นทุกระดับ จังหวัด/อำเภอ/ตำบล/ หมู่บ้าน -หน่วยงานในสังกัด กระทรวงสาธารณสุข -เทศบาล/อบต. -พัฒนาชุมชน -อบจ. -ศธ. -พม.จ. 15

16 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.มีระบบติดตาม/ ประเมินผลที่มี ประสิทธิภาพ -พัฒนาระบบการ ติดตามและ ประเมินผล 1.จัดตั้งศูนย์ ประสานงานระดับ จังหวัด 2.แต่งตั้ง คณะกรรมการ 3.จัดทำแผนและแนว ทางการติดตาม ประเมินผล 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ -ทุกอำเภอมีระบบผลการ ติดตามประเมินผล -สสจ.ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -ศธ. -สธ. -อบจ./ เทศบาล/อบต. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -กศน. 16

17 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบการสื่อสารที่ มีประสิทธิภาพ -พัฒนาช่อง ทางการสื่อสารให้ หลากหลาย 1.สร้างและพัฒนา ช่องทางสื่อสารให้ หลากหลายและ เข้าถึงง่าย 2.พัฒนาวิธีการ สื่อสารให้มี ประสิทธิภาพ 3.สนับสนุน งบประมาณและ ทรัพยากรในการ สื่อสารประชาสัมพันธ์ -มีป้ายประชามสัมพันธ์ ขนาดใหญ่อำเภอละ 1 ป้ายและมีช่องทาง สื่อสารผ่านสื่อในชุมชน อย่างน้อย 3 ช่องทาง -ปชส. -อบจ. -เทศบาล -อบต. -สธ. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -กศน. 17

18 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับกระบวนการ วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 4.มีนวัตกรรมและองค์ ความรู้ -ส่งเสริมการจัดการ ความรู้ 1.จัดประชุมภาคี เครือข่ายทบทวนองค์ ความรู้ 2.จัดเวทีสาธารณะ แสดงความคิดเห็น 3. ประชุมคณะทำงาน /ผู้เชียวชาญถอด บทเรียน 4. กำหนดแนวทาง การทำงาน 5. ศึกษาดูงาน -มีนวัตกรรมและ ผลงานวิจัยด้านอนามัย การเจริญพันธุ์อย่างน้อย อำเภอละ 1 เรื่อง -พม.จ. -ศธ. -สธ. -อบจ./เทศบาล -อบต. -ตำรวจ -อัยการ -กศน. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 -แรงงาน -วัฒนธรรม 18

19 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 1.บุคลากรมีความรู้ ทักษะอย่าง มืออาชีพ -พัฒนาศักยภาพ บุคลากร 1.มีการจัดตั้งทีม สหวิชาชีพ 2.มีแผนพัฒนาทีม 3.อบรม/ประชุม/ สัมมนาศึกษาดูงาน 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระหว่าง หน่วยงาน 5.ประเมินผลการ ปฏิบัติงาน(สมรรถนะ) ของบุคลากรทุก 6 เดือน 6.มีการสร้างแรงจูงใจ -ทุกอำเภอมีทีม สหวิชาชีพอย่างน้อย 1 ทีม -สสจ.ฉะเชิงเทรา -พม.จ. -เทศบาล/อบต. -คณะอนุกรรม การพัฒนา อนามัยการ เจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด -อบจ. 19

20 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 2.จังหวัดมีนโยบาย แนวทางชัดเจน -เร่งรัดในการมี นโยบายระดับ จังหวัด 1.กำหนดเป็นวาระ จังหวัด 2.สร้างภาคีเครือข่าย 3. จัดประชุมเพื่อ กำหนดวัตถุประสงค์ วางแผนการ ดำเนินงานและ ติดตามประเมินผล 4.มีการถ่ายระดับการ ดำเนินงานในพื้นที่ -มีแนวทางในการ ดำเนินงานที่ชัดเจนทุก ระดับ -คณะอนุกรรม การพัฒนาอนามัย การเจริญพันธุ์ระดับ จังหวัด -เทศบาล/อบต. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -อบจ. -ทุกหน่วยงาน ของจังหวัด -ท้องถิ่นจังหวัด -ปชส. -สำนักงาน จังหวัด -พม.จ. -สพป.1,2 -สพม.เขต6 20

21 ตารางช่วยนิยามเป้าประสงค์แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ฉบับปฏิบัติการ(SLM)
การพัฒนาอนามัยการเจริญพันธุ์วัยรุ่นและเยาวชน จ.ฉะเชิงเทรา ระดับพื้นฐาน วัตถุประสงค์/ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ กิจกรรมสำคัญ ตัวชี้วัดผลสำเร็จ หน่วยงาน รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน รับผิดชอบรอง 3.มีระบบฐานข้อมูลที่ทันสมัย -พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลให้ ทันสมัย เข้าถึงง่าย 1.พัฒนาระบบ ฐานข้อมูลอนามัย เจริญพันธุ์ในวัยรุ่น 1.1สำรวจข้อมูลที่ ต้องการ 1.2รวบรวม,จัดเก็บ อย่างมีระบบ(IT) 2.จัดอบรมผู้ดูแลและ ผู้ใช้ข้อมูล 3.ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล -ทุกชุมชนสามารถ เข้าถึงและใช้ข้อมูลได้ -สำนักงานจังหวัด -เทศบาล/อบต. -สสจ. ฉะเชิงเทรา -ปชส. -ศธ. -พม.จ. -มท. -วธ. 21


ดาวน์โหลด ppt การประชุมเชิงปฏิบัติการ สร้างและใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google