งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชุมชี้แจงนโยบายงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๖

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชุมชี้แจงนโยบายงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๖"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชุมชี้แจงนโยบายงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๖

2

3 เกิดน้อย – อายุยืน (80 ยังแจ๋ว)
1. พัฒนานโยบายสาธารณะ เพื่อการส่งเสริมสุขภาพ 2. พัฒนาระบบบรกิ ารและการ บริหารจัดการงานส่งเสริมสุขภาพ 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ยุทธศาสตร์ 4. พัฒนาองค์ความรู้ และจัดการความรู้ 5. ก าหนดทิศทางการ ขับเคลื่อนสู่ท้องถิ่น 6. สร้างกระแสสังคมสื่อสาร สาธารณะและการตลาดเพื่อสังคม เปูาหมาย แม่และเด็ก อายุ 0-5 ปี เด็กวัยเรยี น อายุ ปี วัยท างาน อายุ ปี ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป สูงใหญ่ สมองดี - ชายสูง 175 ซม - หญิงสูง 165 ซม. KPI Smart & healthy พัฒนาการสมวัย 80 ยังแจ๋ว กระบวนการอภบิ าล - มาตรฐานการบรกิ าร คุณภาพ - เตรียมความพร้อมสู่ 80 ยังแจ๋ว - สร้างการมีส่วนร่วม ของเด็ก - สุขภาพดีด้วย 3 อ. -คัดกรองสุขภาพ -เฝูาระวังโรค NCD -สร้างครอบครัวอบอุ่น - สร้างการมีส่วนร่วม - ศึกษาวิจัย - รูปแบบองค์ความรู้ - กฎระเบยี บ - เข้าถึงบริการด้วย hhc - สร้างผู้ดูแลสุขภาพ สร้างชุมชนพึ่งตนเอง

4 พัฒนาอนามัยแม่และเด็ก “ เก่ง ดี มีคุณธรรม น าครอบครัวผาสุก”
มุ่งสู่ 80 ปี ยังแจ๋ว

5 ปัญหาแม่และเด็กเชิงปริมาณ
ธาลัสซีเมียรายใหม่ ภาวะพร่องไทรอยด์ (TSH) เอดส์จากแม่สู่ลูก ชนิดรุนแรง 6 : 1,000 LB (4,250 คนต่อปี) อุบัติการณ์ 0.6 : 1,000 LB ( 600-คนต่อปี) • ปี 2553 : ร้อยละ 3.2 - นน.แรกเกิดน้อยร้อยละ ทารกขาดออกซิเจน 25.3 : 1,000 LB - เตี้ยร้อยละ อ้วน (ในเมือง) / ผอม (ในชนบท) - ฟันผุ ปัญหาแม่และเด็กเชิงคุณภาพ - แม่วัยรุ่นร้อยละ 17.5 - กินนมแม่ 6 เดือนร้อยละ 42.5 - พฤติกรรมการเลี้ยงลูกไม่ถูกต้องขาดภูมิต้านทานทางสังคม ทักษะชีวิต - ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี - เด็กมีความบกพร่องการเรียนรู้ สมาธิสั้น - เด็ก 0 -5 ปีพัฒนาการล่าช้าร้อยละ 30 - IQ ไม่ได้มาตรฐาน 91.4 จุด/ EQ ยังด้อย เกิดน้อยคุณภาพแย่ - คุณภาพการบริการฯ? (WCC)เน้นการตรวจเชิงปริมาณ การให้ค าแนะน าน้อย

6 สถานการณ์งานแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๕
ข้อมูล เป้าหมาย ผลงาน อัตราหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน ๑๒ สัปดาห์หรือเท่ากับ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ ๖๐ ๕๑.๕๙ อัตราภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ ร้อยลละ ๑๐ ๑๙.๙๗ อัตราแม่ที่มีอายุน้อยกว่า ๒๐ ปี คลอดบุตร ร้อยละ ๑๐ ๑๘.๓๓ อัตราตายปริกำเนิด ไม่เกิน ๙ต่อพัน ๔๑.๘๑ อัตรามารดาตาย ไม่เกิน ๑๘ ต่อแสน อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒๕๐๐ กรัม ไม่เกินร้อยละ ๗ ๗.๕๑ อัตราทารกเกิดapgar score ที่ ๑ นาที เท่ากับ ๗ หรือ ต่ำกว่า ไม่เกิน ๓๐ ต่อพันการเกิดมีชีพ ๒๔.๔๑

7 กรอบแนวคิด “การพัฒนาแม่และเด็กอย่างองค์รวม”
เด็กแข็งแรง มี คุณธรรม น าครอบครัวผาสุก สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ ทุนสังคม ตัวชี้วัด ฝากท้องเร็ว. คัดกรองโรค นน.แม่,น้ าหนักทารกแรกเกิด. ขาดO2 นมแม่. พฤติกรรมชวนลูกคุย กิน เล่น กอด ฝึกทักษะชีวิต - รพ.ได้มาตรฐาน - ศูนย์เด็กเล็ก ได้มาตรฐาน - สถานประกอบ กิจการมุมนมแม่ - ชมรม ฯ ปราชญ์ แม่อาสา - รร.พ่อ แม่ ปูุ ย่า ตา ยาย - บ้านแลกเปลี่ยน เรียนของชุมชน - มีแผนชุมชน เพื่อพัฒนาเด็ก - ข้อตกลงร่วม ของชาวบ้าน - ปราชญ์ อสม. - แกนน านมแม่ - ดีเจน้อย/ยุวฑูต - ผู้มีจิตอาสา - ชมรมต่างๆ - ภูมิปัญญา ท้องถิ่น - วัด /ร ร. - ส่วนร่วมของ ชุมชน ท้องถิ่น แผนชุมชน ขับเคลื่อน ติดตาม ประสาน พัฒนาแม่และ เด็กอย่าง องค์รวม ครัวเรือน บุคคล ครอบครัว ต้นแบบ สถานบริการฯ ระบบบริการ มาตรฐาน ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อน 1.กระทรวงสาธารณสุข 3.กระทรวงแรงงาน 5.กระทรวงมหาดไทย 7.กระทรวงเกษตรฯ 2. มูลนิธิศูนยน์ มแม่ 4. กระทรวงพัฒนาสังคม ฯ 6. กระทรวงศึกษาธิการ 8.กระทรวงวัฒนธรรม

8 การด าเนินงาน “พัฒนางานอนามัยแม่ ละเด็ก” ปี 2556 - 2559
สถานบริการ มีมาตรฐาน โรงพยาบาล สายใยรัก ฯ 1. ต าบลนมแม่ บูรณาการ แผน ฯ / ก าหนดข้อตกลง ชาวบ้าน 2. เฝูาระวัง ANC เร็ว LBW. น.น พัฒนาการ 3. ศูนย์เด็กเล็ก ระดับดี ดีมาก 1. คัดกรองโรค / คัดกรอง พัฒนาการเด็ก 2. พัฒนาระบบบรกิ ารคุณภาพ 3. พัฒนาคนสู่ AEC 4. ขับเคลื่อนกฎหมายนมแม่ ขยายวันลาคลอด เด็กเก่ง ดี มีคุณธรรม น าครอบครัวผาสุก ท้องถิ่น แผนชุมชน ขับเคลื่อน ติดตาม ประสาน “ครอบครัว ต้นแบบ” ชวนลูกคุย กิน เล่น กอด ฝึก ทักษะชีวิต 1. รร. พ่อ แม่ ปูุ ย่า ตา ยาย 2. พ่อ แม่ คัดกรองพัฒนาการ ด้วยสมุดสีชมพู 3. สร้าง บุคคล ครอบครัวต้นแบบ โดยประกวด เชิดชู

9

10 คลินิก 3 วัยเด็กไทยฉลาด ณ สถานีอนามัย หรือ PCU
ปรึกษาก่อน แต่งงาน สืบสานดูแลครรภ์ รับขวัญเมื่อ แรกคลอด ยอดอาหารต้องนมแม่ พ่อ แม่ ศูนย์เรียนรู้ สู่ปัญญา เด็กพัฒนา สมวัย ปู่ ย่า ตา ยาย ลูก ลูก ย้ำกระตุ้นสุขภาพ วัยทำงาน ช่วยกันสานเพิ่มคุณค่าผู้สูงวัย เอาใจหนุนเมื่อวัยรุ่น ดีแน่แท้พัฒนาสมวัย

11 ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว
ภายใต้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัว ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯสยามมกุฎราชกุมาร 1. พื้นที่ดำเนินงานอำเภอๆ ละ 1 ตำบล พื้นที่สายใยรัก 2. จังหวัดประเมินเกณฑ์ตำบลนมแม่ฯ และ ส่งศูนย์อนามัยรับรองผล 3. ส่วนกลางประกาศเกียรติคุณ เกณฑ์ตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 1. ชุมชนมีมาตรการสังคม เพื่อพฤติกรรมสุขภาพแม่และเด็ก เช่น ฝากท้องเร็ว ลูกกิน นมแม่ อย่างเดียว 6 เดือน เล่าหรืออ่านนิทานให้ลูกฟัง 2. ชุมชนเฝ้าระวังปัญหาแม่และเด็ก เช่น น้ำหนักและ ส่วนสูงหญิงตั้งครรภ์และเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี แม่หลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3. มีแผนชุมชนตำบลนมแม่เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัว 4. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ร้อยละ 60 5. กรรมการฯ 6.กองทุน หมายถึง ตำบลที่มีกระบวนการ ปกป้อง ส่งเสริม และสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วย นมแม่อย่างมีส่วนร่วมของชุมชน โดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชนให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และ เป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่นๆ

12 อีก 20 ปี เด็กเก่ง ดี มีคุณธรรมน าครอบครัวผาสุก
ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • ตั้งครรภ์อายุ 20 – 35 ปี • ฝากครรภ์ครั้งแรกเร็ว • ชวนลูกคุย กิน เล่น กอด • ลดอ้วน ลดผอม • ครอบครัว/บุคคล ต้นแบบ ชุมชนมีระบบเฝูาระวัง • ฝากท้องเร็ว นน.หญิงตั้งครรภ์ • น้ าหนัก ส่วนสูงเด็ก 0 – 5 ปี • นมแม่ พัฒนาการเด็ก หน่วยงานภาครัฐทุกระดับ สนับสนุน และประสานงาน อย่างเข้มแข็ง ชุมชนมีมาตรการทางสังคม อปท. จัดท าแผนชุมชนพัฒนา สุขภาพแม่และเด็ก และสร้าง สิ่งแวดล้อมที่เอื้อ

13 โครงการส าคัญปี 2556 1. โครงการโรงพยาบาลสายใยรัก แห่งครอบครัว
2. โครงการตำบลนมแม่เพื่อสายใยรัก แห่งครอบครัว 3. โครงการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ 4.โครงการบุคคล ครอบครัว หน่วยงานต้นแบบ เพื่อการพัฒนาแม่และเด็กอย่างครบวงจร 5. โรงเรียนพ่อแม่ในชุมชน

14 เปูาหมาย ปี 2556 1. ร้อยละ 94 ของ รพ.ผ่านการ ประเมิน รพ.สายใยรักระดับทอง 2. ร้อยละ 35 ของต าบลเปูาหมาย ผ่านเกณฑ์ประเมนิ ต าบลนมแม่ เพื่อสายใยรักแห่งครอบครัวอ าเภอละ 1 ตำ าบล 3. ศูนย์เด็กเล็กผา่ นเกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ร้อยละ 40 ระดับดีมาก 4. เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย ทุกด้าน ร้อยละ 80 (Denver II)

15 การบันทึกข้อมูลใน Hosxp

16 แฟ้มข้อมูลส่งเสริมป้องกัน
รูปแบบ 43 แฟ้มมาตรฐาน แฟ้มข้อมูลสะสม แฟ้มข้อมูลบริการ แฟ้มข้อมูลส่งเสริมป้องกัน แฟ้ม PERSON แฟ้ม ADDRESS (แฟ้มใหม่) แฟ้ม HOME แฟ้ม CARD แฟ้ม CHRONIC แฟ้ม DEATH แฟ้ม DRUGALLERGY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม WOMEN แฟ้ม DISABILITY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม VILLAGE (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROVIDER (แฟ้มใหม่) แฟ้ม SERVICE แฟ้ม APPOINTMENT แฟ้ม ACCIDENT (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_OPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROCEDURE_OPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DRUG_OPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม CHARGE_OPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ADDMISSION (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DIAGNOSIS_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม PROCEDURE_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DRUG_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม CHARGE_IPD (แฟ้มใหม่) แฟ้ม DENTAL (แฟ้มใหม่) แฟ้ม SPECIALPP (แฟ้มใหม่) แฟ้ม COMMUNITY_SERVICE (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ICF (แฟ้มใหม่) แฟ้ม FUNCTIONAL (แฟ้มใหม่) แฟ้ม REHABILITATION (แฟ้มใหม่) แฟ้ม COMMUNITY_ACTIVITY (แฟ้มใหม่) แฟ้ม ANC แฟ้ม MCH แฟ้ม PRENATAL (MCH) (แฟ้มใหม่) แฟ้ม LABOR (MCH) (แฟ้มใหม่) แฟ้ม POSTNATAL (MCH) (แฟ้มใหม่) แฟ้ม NEWBORNCARE (PP) (แฟ้มใหม่) แฟ้ม EPI แฟ้ม NUTRI แฟ้ม FP แฟ้ม SURVIEL แฟ้ม NCDSCREEN แฟ้ม LABFU แฟ้ม CHRONICFU + 17 แฟ้มส่งต่อ * 21 แฟ้มมาตรฐาน แฟ้ม PP (ปรับเป็น NEWBORNCARE) แฟ้ม DRUG ,PROCED , DIAG (แยกออกมาเป็น IPD,OPD)

17 รหัส ICD-10 TM PCU บทที่ 15 การตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด (O00-O99) บทที่ 16 ภาวะบางอย่างที่เริ่มต้นในระยะปริกำเนิด (P00-P96)

18

19

20


ดาวน์โหลด ppt ประชุมชี้แจงนโยบายงานอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๕๖

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google