งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ค่าของทุน The Cost of Capital

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ค่าของทุน The Cost of Capital"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ค่าของทุน The Cost of Capital
แหล่งเงินทุน องค์ประกอบของต้นทุน WACC ค่าใช้จ่ายในการออกหุ้น

2 School of Business Administration
แหล่งเงินทุนระยะยาว Sansanee Thebpanya School of Business Administration

3 ประเภทของเงินทุนระยะยาว
หนี้สินระยะยาว หุ้นบุริมสิทธิ์ หุ้นสามัญ, กำไรสะสม Sansanee Thebpanya School of Business Administration

4 การคำนวณค่าของทุนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (weighted average cost of capital)
WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks w คือ สัดส่วนของเงินทุนในโครงสร้างทุน k คือ ต้นทุนของเงินทุนแต่ละตัว Sansanee Thebpanya School of Business Administration

5 ต้นทุนก่อนภาษี และต้นทุนหลังภาษี
ผู้ถือหุ้นให้ความสำคัญกับกระแสเงินสดหลังภาษี ดังนั้น ค่าของทุนที่นำมาพิจารณาจึงควรเป็นต้นทุนหลังภาษี เช่น ใช้ต้นทุนหนี้สินหลังภาษีในการคำนวณ WACC เป็นต้น ซึ่งเราจะปรับค่า kd เพื่อให้สะท้อนต้นทุนหลังภาษี เนื่องจากดอกเบี้ยจ่ายสามารถหักลดภาษีได้ Sansanee Thebpanya School of Business Administration

6 School of Business Administration
ต้นทุนในอดีต (historical costs) และต้นทุนใหม่หรือต้นทุนส่วนเพิ่ม (new or marginal costs) ค่าของทุนเป็นตัวที่ใช้ในการตัดสินใจซึ่งเกี่ยวข้องกับการจัดหาเงินทุนใหม่ ดังนั้นจึงควรใช้ต้นทุนส่วนเพิ่มในการคำนวณค่า WACC Sansanee Thebpanya School of Business Administration

7 สัดส่วนของเงินทุน (w)
WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks ควรใช้ตัวเลขทางบัญชีหรือมูลค่าตลาด (book vs. market weights)? ควรใช้ตัวเลขที่แท้จริงหรือตัวเลขตามเป้าหมายของโครงสร้างเงินทุน? Sansanee Thebpanya School of Business Administration

8 ส่วนของต้นทุนหนี้สิน (cost of debt)
WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks kd คือต้นทุนส่วนเพิ่มของหนี้สิน (marginal cost of debt) ในโครงสร้างเงินทุน kd = อัตราผลตอบแทนของหนี้สินระยะยาว ทำไมจึงต้องมีการหาต้นทุนหลังภาษี—kd(1-T)? Sansanee Thebpanya School of Business Administration

9 School of Business Administration
ตราสารหนี้ชนิด 12% มีอายุ 15 ปี จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี ออกขายในราคา 1, บาท จงหาต้นทุนของหนี้สิน (kd) เนื่องจากตราสารหนี้จ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง ดังนั้น kd = 5.0% x 2 = 10% 1 2 30 k 60 60 + 1,000 VB = $1,153.72 ... $1, = $60[PVIFAk, 30] + $1,000[PVIFk, 30] ที่ k=5%; $60[ ] + $1,000[0.2314] = $1,153.75 Sansanee Thebpanya School of Business Administration

10 ส่วนของต้นทุนหนี้สิน
ดอกเบี้ยสามารถหักลดภาษีได้ ดังนั้น A-T kd = B-T kd (1-T) = 10% ( ) = 6% Sansanee Thebpanya School of Business Administration

11 ส่วนของต้นทุนหุ้นบุริมสิทธิ์ (preferred stock)
WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks kp คือ ต้นทุนส่วนเพิ่มของหุ้นบุริมสิทธิ์ คือ อัตราผลตอบแทนที่นักลงทุนต้องการจากการถือหุ้นบุริมสิทธิ์ Sansanee Thebpanya School of Business Administration

12 คำนวณต้นทุนหุ้นบุริมสิทธิ์ PP = ฿113.10; 10%; Par = ฿100; F = ฿2
ต้นทุนหุ้นบุริมสิทธิ์หาได้จากสมการดังต่อไปนี้: kp = Dp / Pp = $10 / $111.10 = 9% Sansanee Thebpanya School of Business Administration

13 ส่วนของต้นทุนหุ้นบุริมสิทธิ์
เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธิ์ไม่สามารถหักภาษีได้ ดังนั้นจึงไม่จำเป็นต้องปรับภาษีกับต้นทุน (ต้นทุนก่อนภาษี = ต้นทุนหลังภาษี) kp Sansanee Thebpanya School of Business Administration

14 ส่วนของต้นทุนของผู้ถือหุ้น
WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks ks คือ ต้นทุนของผู้ถือหุ้นในส่วนของกำไรสะสม ke คือ อัตราผลตอบแทนที่นักลงทุนต้องการจากการถือหุ้นของบริษัท (ต้นทุนจากการออกหุ้นใหม่) Sansanee Thebpanya School of Business Administration

15 ทำไมกำไรสะสมจึงมีต้นทุน?
ผลกำไรสามารถนำมาลงทุนต่อได้ หรืออาจจ่ายเป็นเงินปันผล ถ้าจ่ายเป็นเงินปันผล นักลงทุนสามารถนำมาซื้อหลักทรัพย์อื่น และได้รับผลตอบแทนจากการลงทุนนั้น Sansanee Thebpanya School of Business Administration

16 School of Business Administration
ถ้าผลกำไรถูกเก็บเป็นกำไรสะสม จะมีค่าเสียโอกาส (opportunity cost) (ผลตอบแทนที่ผู้ถือหลักทรั้พย์จะได้รับจากทางเลือกอื่นในการลงทุนที่มีระดับความเสี่ยงเท่ากัน) นักลงทุนสามารถซื้อหุ้นของบริษัทและได้รับผลตอบแทน ks บริษัทสามารถซื้อคืนหุ้นของตนเองและได้รับผลตอบแทน ks ดังนั้น ks ก็คือต้นทุนของกำไรสะสมนั่นเอง Sansanee Thebpanya School of Business Administration

17 วิธีการในการหาต้นทุนส่วนของผู้ถือหุ้น, ks
DCF: ks = D1 / P0 + g Sansanee Thebpanya School of Business Administration

18 School of Business Administration
ถ้า D0 = ฿4.19, P0 = ฿50, and g = 5%, ต้นทุนส่วนของผู้ถือหุ้นเป็นเท่าใดถ้าใช้วิธี DCF D1 = D0 (1+g) D1 = ฿4.19 ( ) D1 = ฿4.3995 ks = (D1 / P0) + g = (฿ / ฿50) = 13.8% Sansanee Thebpanya School of Business Administration

19 School of Business Administration
หา WACC ของบริษัท WACC = wdkd(1-T) + wpkp + wcks = 0.3(10%)(0.6) + 0.1(9%) + 0.6(14%) = 1.8% + 0.9% + 8.4% = 11.1% Sansanee Thebpanya School of Business Administration

20 School of Business Administration
ถ้าการออกหุ้นสามัญใหม่มีต้นทุนในการออกหุ้น (flotation cost) เท่ากับ 15% จากมูลค่าหุ้นที่ออกจำหน่าย ถามว่า ke เท่ากับเท่าใด? Sansanee Thebpanya School of Business Administration

21 ปัจจัยที่มีผลต่อ WACC
ภาวะตลาด โครงสร้างเงินทุนของบริษัท และนโยบายการจ่ายปันผล นโยบายการลงทุน—บริษัทที่มีโครงการซึ่งมีความเสี่ยงสูง โดยทั่วไปจะมีค่า WACC สูง Sansanee Thebpanya School of Business Administration

22 School of Business Administration
บริษัทควรใช้ WACC รวม (composite WACC) เป็น hurdle rate ในการประเมินแต่ละโครงการหรือไม่? โครงการแต่ละโครงการมีความเสี่ยงต่างกัน จึงควรมีการปรับค่า WACC เพื่อให้สะท้อนถึงความเสี่ยงของแต่ละโครงการ ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ WACC รวม ในการประเมินโครงการต่างๆ ถ้าโครงการนั้นมีความเสี่ยงแตกต่างจากความเสี่ยงโดยเฉลี่ยของกิจการ Sansanee Thebpanya School of Business Administration


ดาวน์โหลด ppt ค่าของทุน The Cost of Capital

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google