งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax

2 ความหมายของภาษีเงินได้
เงินได้ (Income) ตามความหมายคือ มูลค่าของเงินที่ได้ เพิ่มขึ้นของบุคคลที่ทำให้อำนาจซื้อเพิ่มขึ้น ความหมายของรายได้จะแตกต่างกันในแต่ละประเทศ ทำให้ นิยามของรายได้แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมแล้วสามารถ กล่าวได้ว่า รายได้ (Income) คือ มูลค่าเงินที่แสดงความสามารถในการบริโภคของบุคคล หรือ การเปลี่ยนแปลงในมูลค่า (store of value) ของความมั่งคั่ง ปัญหาใหญ่คือการวัดระดับรายได้จะประกอบด้วยอะไร เงิน สินทรัพย์ รายได้จากกำไรจากการค้าขาย ฯลฯ

3 ความหมายของภาษีเงินได้
ความครอบคลุมของนิยามรายได้ เงินได้จากการขายแรงงาน รายได้ค่าเช่า หรือการลงทุนอื่นๆ บำเหน็จ บำนาญ Capital Gains Realized vs. Unrealized Income in Kind

4 ภาษีจาก Capital Gains เป็นการเพิ่มของมูลค่าทรัพย์สิน โดยผู้เป็นเจ้าของอาจไม่ได้ทำ อะไรเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่า เช่น การซื้อ-ขายหุ้น การเก้งราคา ที่ดิน ฯลฯ การคิดภาษีจาก capital gains จะสามารถทำได้เฉพาะใน การที่มีการซื้อ-ขาย หรือการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้น หากไม่มีการ สำแดงมูลค่าผ่านการซื้อขาย อาจไม่สามารถเก็บภาษีได้ แต่ ภาระภาษีที่จะเกิดขึ้นถูกผลักออกไปในอนาคตจนกว่าจะมีการ แลกเปลี่ยนเกิดขึ้น

5 ภาษีจาก Capital Gains การผลักภาระไปในอนาคตอาจไม่มีความหมายอะไร แต่ผล ต่อเนื่องของการผลักภาระดังกล่าวอาจมีมากขึ้น เพราะการ สะสมมูลค่าของทรัพย์สินที่เพิ่มมากขึ้นนั้น จะถูกดำเนินการเก็บ ภาษีอย่างไร

6 ภาษีจาก Capital Gains ตัวอย่าง นาย ก. ซื้อทรัพย์สินมาในมูลค่า 100,000 บาท โดยมีการเพิ่มขึ้น ของมูลค่าร้อยละ 12 ต่อปี ดังนั้นทรัพย์สินนี้จะมีมูลค่า ปีที่ 1 เป็น 100,000 x (1+0.12) = 112,000 บาท ปีที่ 2 เป็น x (1+0.12)2 = 125,440 บาท ..... ปีที่ 20 เป็น x (1+0.12)20 = 964,629 บาท หากขายทรัพย์สินนี้ในปีที่ 20 ได้ส่วนเพิ่มเท่ากับ 964,629 – 100ม000 = 864,629 บาท หากอัตราภาษีเท่ากับร้อยละ 15 ทำให้ภาระภาษีเท่ากับ x (0.15) = 129,694 บาท โดยมี net gain = 864,629 – 129,694 = 734,935 บาท (หลังถือครองทรัพย์สินเป็นเวลา 20 ปี)

7 ภาษีจาก Capital Gains หากแทนที่จะเก็บภาษีในปีที่ 20 แต่เก็บสะสมทุกๆ ปี ในอัตราเท่ากัน ปีที่ 1 100,000 x ( ) = 110,200 0.102 มาจากภาษีร้อยละ 15 ของมูลค่าเพิ่ม (capital gain) ที่เพิ่มร้อยละ 12 ทำให้มูลค่าแทนจริงคือ ร้อยละ10.2 โดยเรียกเก็บร้อยละ 15 จาก capital gain ที่เพิ่มร้อยละ 12 ในแต่ละปี ดังนั้น ในหนึ่งปีมีมูลค่าเพิ่มท่ากับ 0.12 x 100,000 = 120,000 บาท และเสีย ภาษีร้อยละ 15 จึงได้ 120,000 x 0.15 = 1,800 บาท ปีที่ 2 100,000 x ( )2 = 121,440 ปีที่ x ( )20 = 697,641 capital gain ทั้งหมด เท่ากับ 697,641 – 100ม000 = 597,641

8 ภาษีจาก Capital Gains เปรียบเทียบระหว่างวิธีการสองกรณี
เก็บภาษีเมื่อครบ 20 ปี ได้ภาษีเท่ากับ 734,935 เก็บสะสมทุกๆ ปี ได้ภาษีเท่ากับ ,641 การปล่อยให้มีการสะสมมูลค่าเพิ่มจะให้ภาษีที่มากกว่าการเก็บทุกๆ ปี เพราะการปล่อยให้มีการสะสมมูลค่าเพิ่มเหมือนเป็นการที่รัฐบาล ให้เอกชนได้มีโอกาสสะสมความมั่งคั่งจากการไม่เก็บภาษี ผลคือทำให้เอกชนต้องคิดคำนึงถึงการแลกเปลี่ยนทรัพย์สิน เป็นการ เปิดโอกาสให้ถูกเก็บภาษีจากรัฐบาล การสะสมมูลค่าจึงถูก lock- in เพราะหากขายหรือแลกเปลี่ยนจะถูกเก็บภาษี เอกชนจึงอาจเลือก ที่จะถือครองทรัพย์สินนั้นต่อไป

9 การลดหย่อน (Deduction) VS. การยกเว้น (exemption)
การลดหย่อน คือการขนาดของฐานภาษีให้เล็กลง โดยอาจเลือก การลดหย่อนกับกิจกรรมใดๆ ที่รัฐบาลสนับสนุนให้มีการ ลดหย่อน ผลที่เกิดจากการลดหย่อนตามกิจกรรมนี้ ทำให้ราคา เปรียบเทียบของการบริโภคสินค้าที่ได้รับการลดหย่อนลดลง เช่น การลดหย่อนการซื้อประกันชีวิต การซื้อบ้าน การซื้อกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ เป็นต้น การยกเว้น คือการไม่จัดเก็บภาษีกับกิจกรรมหรือฐานรายได้

10 ภาษีการใช้จ่าย Tax expenditures
เป็นกรณีที่รัฐบาลแทนที่จะเก็บภาษจากกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่ง ทำให้ต้องสูญเสียรายได้ภาษีนั้นไปเปล่าๆ เรียกภาษีที่ไม่ได้จัดเก็บนั้นว่า ภาษีการใช้จ่าย เพราะการไม่เก็บ ภาษีเปรียบเสมือนเป็นการอุดหนุนกิจกรรมที่ไม่เก็บภาษี ทางอ้อม เช่นการไม่เก็บภาษีกับโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันกวด วิชาต่างๆ

11 ภาษีกับเงินเฟ้อ (Taxes and Inflation)
เงินเฟ้อมีผลต่อการเก็บภาษี คือ เงินเฟ้อทำให้ฐานรายได้บุคคล ธรรมดาเพิ่มสูงขึ้น นำไปสู่ถูกเก็บภาษีสูงขึ้น ทั้งๆ ที่รายได้แท้จริง อาจไม่เปลี่ยนแปลง ผลเงินเฟ้ออีกด้านหนึ่ง คือทำให้มูลค่าการลดหย่อนภาษีที่มีกับ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของบุคคลมีค่าเพิ่มสูงขึ้น เช่นการผ่อน บ้านที่ยึดติดกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด การมีเงินเฟ้อทำให้ต้นทุน การผ่อนบ้านสูงขึ้น การลดหย่อนจึงเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย

12 โครงสร้างภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาของไทย
ชั้นเงินได้สุทธิ อัตราภาษี 0-150,000 ยกเว้น 150, ,000 10% 500,001-1,000,000 20% 1,000,001-4,000,000 30% 4,000,001 ขึ้นไป 37%


ดาวน์โหลด ppt ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา Personal Income Tax

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google