งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน
รองศาสตราจารย์ดร.ภาวดี ทองอุไทย กันยายน 2552

2 สองบทบาทหลักของรัฐ จ้างแรงงานโดยตรง ออกกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ
หน้าที่จัดให้มีสินค้าสาธารณะ เงินโอน เก็บภาษี ออกกฎหมาย และ กฎระเบียบต่างๆ กฎหมายค่าจ้างขั้นต่ำ Minimum wage law ควบคุมการเอาเปรียบ ในกรณีของการผูกขาด กฎระเบียบความปลอดภัยในการทำงาน การออกใบอนุม้ติประกอบอาชีพ ภาษีศุลกากร โควต้า

3 รัฐบาลในฐานะเป็นผู้สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจ
ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ: ความแตกต่างระหว่าง ค่าจ้างที่จ่ายให้แก่คนงานแต่ละคน และ ค่าจ้างที่พอดีกับที่จะทำให้เขาอยู่ในงานที่ทำอยู่ในปัจจุบัน เส้นอุปทานแรงงานของตลาด = เส้นต้นทุนค่าเสียโอกาสหน่วยสุดท้าย สะท้อนมูลค่าของทางเลือกอื่นที่ดีที่สุดของคนงานแต่ละคน งานอื่นในตลาดแรงงาน การผลิตในครัวเรือน การพักผ่อน

4 คนงาน และ กลุ่มอาชีพต่างๆ แสวงหาค่าเช่า rent seekers
เจ้าหน้าที่ของรัฐ เป็นผู้ตอบสนองสร้างค่าเช่า rent providers แต่...ค่าจ้างที่สูงขึ้นสำหรับคนงานกลุ่มหนึ่งอาจจะทำให้ ค่าจ้างลดลงสำหรับคนงานกลุ่มอื่นๆ ราคาสินค้าสูงขึ้นสำหรับผู้บริโภค เงินปันผลลดลงสำหรับผู้ถือหุ้น

5 ผลกระทบของค่าจ้างขั้นต่ำ
ในกรณีที่ครอบคลุมทุกสาขา แรงงานทุกคน ค่าจ้างขั้นต่ำที่สูงกว่าระดับดุลยภาพ  การว่างงาน คนงานเดิมจะถูกปลด จะมีคนงานใหม่เข้าสู่ตลาดแรงงาน อัตราการว่างงานขึ้นอยู่กับ ระดับค่าจ้างขั้นต่ำ ความยืดหยุ่นของอุปทาน และ อุปสงค์แรงงาน

6

7 ในกรณีที่มีสองสาขา แต่ บังคับใช้แต่เพียงสาขาเดียว
แรงงานในสาขาที่ไม่มีการบังคับใช้ จะได้ค่าจ้างระดับแข่งขัน หลังจากมีการกำหนดค่าจ้างขั้นต่ำ ผู้ที่ตกงาน  สาขาที่ไม่บังคับใช้  เส้นอุปทาน เคลื่อนไปทางขวา  ค่าจ้างลดลง คนงานในสาขาที่ไม่บังคับใช้ อาจออกจากงานเดิม  สมัคร/รองานในสาขาที่มีค่าจ้างขั้นต่ำ เพราะค่าจ้างสูงกว่า  เส้นอุปทานเคลื่อนไปทางซ้าย  ค่าจ้างสูงขึ้น

8

9

10 ลดต้นทุนของการหาข้อมูล การตัดสินใจซื้อเป็นไปอย่างเหมาะสม
การจดทะเบียนอาชีพ แพทย์ ทนายความ ถ้าทำงานผิดพลาด  สร้างความเสียหายแก่ผู้บริโภคอย่างร้ายแรง รัฐต้องดูแลคุ้มครอง ลดต้นทุนของการหาข้อมูล การตัดสินใจซื้อเป็นไปอย่างเหมาะสม หรือ กลุ่มอาชีพนั้นๆอาจเรียกร้องให้มีการจดทะเบียน จำกัดอุปทาน  สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจให้เกิดกับผู้ที่มีใบทะเบียนอยู่แล้ว

11

12 ภาษีศุลกากรที่เก็บจากสินค้าเข้า และการกำหนดโควตาสำหรับสินค้าเข้า
ภาษีศุลกากร โควต้า ภาษีศุลกากรที่เก็บจากสินค้าเข้า และการกำหนดโควตาสำหรับสินค้าเข้า สร้างค่าเช่าทางเศรษฐกิจให้คนงาน บางกลุ่ม สินค้าจากต่างประเทศมีราคาสูงขึ้น เพิ่มยอดขายให้สินค้าในประเทศที่ได้รับการคุ้มครอง (เพราะคู่แข่งลดลง) เพิ่มอุปสงค์ต่อเนื่องสำหรับคนงานในประเทศ เพิ่มค่าจ้างดุลยภาพ และการจ้างงาน

13


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐศาสตร์แรงงาน EC 471 บทบาทของรัฐบาลในตลาดแรงงาน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google