แนวคิดเกี่ยวกับงานจดหมายเหตุ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

กองก่อสร้างโครงการย่อย กองก่อสร้างโครงการกลาง กองก่อสร้างโครงการใหญ่
สรุปประเด็นสำคัญเรื่องเล่า
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ความต้องการ ทางด้านการเงิน และ การส่งเสริมความรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต บริหารการจัดการ.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การต่อเวลาราชการ 65 ปี สังกัดมหาวิทยาลัยขอนแก่น งานบริหารงานบุคคล กองการ เจ้าหน้าที่ สำนักงานอธิการบดี
ความคืบหน้า การจัดทำฐานข้อมูลด้าน ความมั่นคง ระเบียบวาระ ที่ ๓. ๑.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 16
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย (Integrity and Transparency Assessment: ITA) เฉพาะหลักฐานเชิงประจักษ์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 14
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 15
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
Google Scholar คืออะไร
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การสรรหาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวคิดเกี่ยวกับงานจดหมายเหตุ รองศาสตราจารย์ ดร. สมสรวง พฤติกุล

ความสัมพันธ์ของเอกสารกับจดหมายเหตุ เอกสาร (records) จดหมายเหตุ

Archives ความหมายของคำ -หอ/หน่วยงานจดหมายเหตุ -เอกสารจดหมายเหตุ -สถานที่เก็บเอกสาร -หอ/หน่วยงานจดหมายเหตุ -เอกสารจดหมายเหตุ

จดหมายเหตุ ความหมายของคำ เอกสารที่แต่ละส่วนงานจัดทำ หรือรับไว้และใช้ในการบริหารงานของส่วนงาน และเมื่อใช้งานเสร็จหรือวัตถุประสงค์ของการจัดทำเอกสารสิ้นสุดแล้ว แต่เอกสารนั้นยังมีคุณค่าต่อเนื่องจึงต้องส่งมอบให้หน่วยงานจดหมายเหตุจัดเก็บและดูแลรักษาเพื่อให้สามารถนำเอกสารดังกล่าวมาใช้ได้ทันทีที่ต้องการและเพื่อให้มีการใช้เอกสารดังกล่าวอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น

จดหมายเหตุ (archives) เอกสารที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้และสะสมโดยบุคคลหรือหน่วยงานเพื่อการดำเนินงานตามหน้าที่และนำมาเก็บรักษาเนื่องจากยังมีคุณค่าต่อเนื่องต่อองค์กร

ความหมายของจดหมายเหตุ T R Schellenberg เอกสารของสถาบันของรัฐหรือเอกชนที่ได้พิจารณาแล้วว่ามีคุณค่าต่อการจัดเก็บรักษาเพื่อการอ้างอิงและการศึกษาวิจัยและได้มีการเก็บหรือได้รับการคัดเลือกให้เก็บรักษาไว้ในสถาบันจดหมายเหตุ

ความหมายของจดหมายเหตุ Sir Hilraly Jenkinson เอกสารที่ได้สะสมโดยกระบวนการตามธรรมชาติในการดำเนินงานของภาครัฐหรือเอกชนและหลังจากนั้นได้นำมา ดูแลรักษาเพื่อการอ้างอิงโดยบุคคลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบ

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ ยุคอารยธรรมโบราณ -ก่อนที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการขีดเขียนเป็นลายลักษณ์ -ในสมัยสุเมเรียน มนุษย์เริ่มรู้จักการขีดเขียนบนแผ่นดินเหนียว -ชาวอียิปต์ใช้กระดาษปาปิรัส

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคคลาสสิก ชาวโรมันและกรีกโบราณบันทึกข้อมูลบนแผ่นไม้ แผ่นหนัง และทองสัมฤทธิ์ มีการจัดทำดรรชนี/รายชื่อเอกสาร มีหน่วยรับผิดชอบและมีตำแหน่งผู้รับผิดชอบการจัดการเอกสารของรัฐ การจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุไม่แยกจากกันและมีการบริหารเป็นระบบรวมศูนย์

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคกลาง มีแบบเอกสาร (documentary form) การจัดทำเอกสารเป็นพยานหลักฐานในการตัดสินคดีของศาล เกิดระบบทะเบียนเอกสาร (Registry System) เริ่มมีการแยกเอกสารที่มีคุณค่าออกจากเอกสารที่ไม่มีคุณค่า มีการจัดเก็บเอกสารแบบเรียงตามลำดับเหตุการณ์/วันเดือนปี

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคใหม่ การจัดทำและเก็บรักษาเอกสารจำเป็นต่อการบริหารราชการและ องค์การต่างๆ เช่น โรงพยาบาล ธนาคาร มหาวิทยาลัย การจัดการเอกสารต้องมีระบบและอาศัยหลักวิชาการ มีการผลิตและเผยแพร่วรรณกรรมทางด้านการจัดจัดทำเอกสาร การจัดเก็บและค้นคืนเอกสาร การดูแลรักษาเอกสาร วิชาการศึกษาเกี่ยวกับเอกสาร (diplomatics) มีความสำคัญ

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคปฏิวัติฝรั่งเศส งานจดหมายเหตุแยกจากงานจัดการเอกสาร เริ่มยุคของงานจดหมายเหตุสมัยใหม่ เกิดแนวคิดการจัดตั้งหอจดหมายเหตุแห่งชาติและแนวคิดนี้เผยแพร่และกระจายไปทุกภูมิภาคของโลก ตำแหน่งนักจดหมายเหตุเริ่มเป็นที่รู้จัก

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคการจัดการเอกสาร เกิดการคิดค้นหลักทฤษฏีวงจรชีวิตเอกสาร เกิดการตระหนักถึงความสำคัญของเอกสาร เริ่มใช้คำ “Records Management”

พัฒนาการการจัดการเอกสารและการบริหารจดหมายเหตุ (ต่อ) ยุคเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ มีการวิจัยเพื่อหาหลักการและแนวคิดการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสม หลักการการจัดการเอกสารอย่างต่อเนื่อง (records continuum) โครงการวิจัยสำคัญ เช่น InterPARES Project

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง UNESCO – RAMP Study ICA -SARBICA

ความหมายของจดหมายเหตุ เอกสารเก่า เอกสารประวัติศาสตร์ เอกสารที่มีคุณค่าเก็บถาวร เอกสารที่ที่มีคุณค่าต่อเนื่อง บันทึกเหตุการณ์สำคัญ

รูปแบบ/ชื่อของหน่วยงานจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุ หอประวัติ/หอเกียรติยศ พิพิธภัณฑ์และหอจดหมายเหตุ ศูนย์ข้อมูล

ประเภทของหอจดหมายเหตุ In-House Archives Collecting Archives Mix Archives

ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ ปัจจัยนำเข้า นโยบาย เอกสาร วัสดุครุภัณฑ์ เงิน/งบประมาณ บุคลากร

ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ กระบวนการดำเนินงาน การจัดหา การจัดเรียงและทำคำอธิบาย การสงวนรักษา การให้ใช้ การบันทึกเหตุการณ์สำคัญ*

ระบบการบริหารงานจดหมายเหตุ ผลลัพธ์ จดหมายเหตุที่พร้อมบริการ

สวัสดีค่ะ