หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ บ้านกุดใส้จ่อ ผลิตภัณฑ์หมอนขิด
นายนิธิกร เทียมกองกาญจน์ โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์ ผู้จัดทำ นายนิธิกร เทียมกองกาญจน์ โปรแกรมวิชาบรรณารักษศาสตร์ และสารนิเทศศาสตร์
ความเป็นมาของบ้านกุดใส้จ่อ ประวัติความเป็นมา ตำบลกุดใส้จ่อ อยู่ในเขตการปกครองของอำเภอกันทรวิชัย มีจำนวนหมู่บ้านทั้งสิ้น 10 หมู่บ้านได้แก่ หมู่ 1 บ้านหนองคูพัฒนา หมู่ 2 บ้านดอนหัน หมู่ 3 บ้านขี้เหล็ก หมู่ 4 บ้านใส้จ่อ หมู่ 5 บ้านดอนเป้าหมู่ 6 บ้านลิ้นฟ้า หมู่ 7 บ้านดงเค็ง หมู่ 8 บ้านม่วง หมู่ 9 บ้านหัวงัว หมู่ 10 บ้านม่วง
อาณาเขตของตำบลกุดใส้จ่อ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตหนองอีเฒ่า อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ศใต้ ติดต่อกับ ต.มะค่า อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.หนองดอกแป้น อ.ยางตลาด จ.กาฬสินธุ์ ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.ขามเฒ่าพัฒนา อ.กันทรวิชัย จ.มหาสารคาม จำนวนประชากรของตำบล มีจำนวนประชากรทั้งสิ้น 4,578 คน เป็นชาย 2,278 คน เป็นหญิง 2,300 คน ข้อมูลอาชีพของตำบล : อาชีพหลัก ทำนา อาชีพเสริม : จักสานสุ่มไก่ ทำหมอนขิต ที่นอนปิคนิค ข้อมูลสถานที่สำคัญของตำบล : 1. วัดเขมิกาวาส 2. วัดศรีเจริญ 3. วัดสว่างโนนจาน 4. วัดอัมพวัน
สำนักงาน อบต. กุดใส้จ่อ โครงสร้างการบริหารของ อบต. สำนักงาน อบต. กุดใส้จ่อ นายบุญทัน เล่ห์กล นายก อบต. นายทองใบ ภูบุญคง รองนายก อบต. นายมงคล ภูจำปา
การบริหารของตำบล ข้อมูลรายชื่อกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน 1. นายบุญเลิศ นามโร กำนันบ้านดอนหัน 2. นายนิกร กรงทิพย์ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1บ้านหนองคูพัฒนา 3. นางสมร ทรวยทอง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3บ้านขี้เหล็ก 4. นายประสิทธิ์ ศรีปัดถา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4บ้านไส้จ่อ 5. นายคำกาย เกตคำ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5บ้านดอนแป้ว
การบริหารของตำบล 6. นายชูวิทย์ ขำทะมา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6บ้านลิ้นฟ้า 7. นายฝัน นาทันริ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7บ้านดงเค็ง 8. นายประภาส โพธิษา ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 8บ้านม่วง 9. นายแก้ว ภูแข่งหมอก ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 9บ้านหัวงัว 10. นายสำราญ เหล่าคุณ ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 10บ้านม่วง 11. นายสำรวย ประนิสอน ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 11บ้านไส้จ่อ
ผลิตภัณฑ์ที่น่าสนใจของตำบล หัตถกรรมผ้า เช่น หมอนขิต หมอนขิต เป็นหมอนใช้หนุนนอน มีสีสันสวยงาม แข็งแรง ทนทานมีหลายขนาด ให้เลือกมากมาย
ขั้นตอนการผลิตหมอนขิด การทำหมอนขิด นำผ้าลายขิดที่ทอแล้ว มาตัดเป็นช่อง 9 ช่อง เพื่อยัดนุ่น จากนั้นทำหน้าหมอนแล้วมาเย็บประกอบ เป็นรูปหมอน การเย็บใช้จักรเย็บไส้และตัวหมอน ส่วนหุ้มหน้า- หลังต้องสอยด้วยมือ ผ้าที่ใช้จะเป็นขิดฝ้าย ขนาด ๒๕ นิ้ว กว้าง ๑๖ นิ้ว จะได้หมอน ๖ ลูก ๑ ใบ ผ้าที่ใช้จะเป็นขนาดผืน ๒๕ นิ้ว ๓๐ นิ้ว ปัจจุบันจะใช้ผ้าโสร่งแทนขิดด้วย
รูปแบบของหมอน