จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เป้าหมาย ร้อยละ 98 ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด.
Advertisements

โครงการพัฒนาศักยภาพ เครือข่าย เจ้าพนักงานตามกฎหมาย การสาธารณสุข ( ปี 2551) โดย ศูนย์บริหารกฎหมาย สาธารณสุข และศูนย์อนามัยที่
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การดำเนินงาน อาหารแปรรูปในภาชนะพร้อมจำหน่าย (primary GMP)
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
แผนงานย่อย “น้ำมันทอดซ้ำเสื่อมสภาพ”
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ การตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ นพ.มรุต จิรเศรษฐสิริ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
ส้วมสะอาดในร้านอาหาร
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กลุ่มเกษตรกร.
ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ พ.ศ.2560
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
คณะที่ 4 พัฒนาระบบสนับสนุนด้านสุขภาพ
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
“ความร่วมมือในการขับเคลื่อนงาน คสจ. และ พชอ.”
จังหวัดสมุทรปราการ.
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
โครงการพัฒนาเกษตรอินทรีย์
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การประชุมคณะทำงานพัฒนามาตรฐานงานเภสัชกรรมในโรงพยาบาล และหน่วยบริการปฐมภูมิ ครั้งที่ 1/2562 ณ ห้องประชุมเหล็กน้ำพี้
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558 สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 รอบที่ 2/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ จังหวัดเชียงใหม่ วันที่ 6 – 7 กรกฎาคม 2558

ประเด็นการตรวจราชการ 1.ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขตดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนด 1.2 มีการคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ หรือคณะทำงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) 2.ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 2.1 คณะอนุกรรมการสาธารณสุขจังหวัด (อสธจ.) ทุกจังหวัด ดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่และแนวทางที่กำหนดได้อย่างมีประสิทธิภาพ

คณะอนุกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต เป้าหมาย เพื่อเป็นกลไกในการกำหนดยุทธศาสตร์ แนวทาง การดำเนินงาน คบส.ของเขต ตลอดจนให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่างๆที่เกี่ยวข้องกับงานคุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับเขต ต่อคณะกรรมการเขตสุขภาพ (Regional Health Board)

1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจ หน้าที่ที่กำหนด ข้อกำหนดมาตราการดำเนินงานในพื้นที่ 1.มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการระดับเขต 2.วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา จัดทำแผนยุทธศาสตร์ /แผนปฏิบัติการ 3.ดำเนินการตามแผน 4.ติดตามควบคุมกำกับและประเมินผล 5.สรุปผลการดำเนินงาน และจัดทำข้อเสนอ

1.1 มีคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขตดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ที่กำหนด ผลการดำเนินงานของเขต มีคำสั่งคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 1 มีการจัดประชุมคณะอนุกรรมการฯ ครั้งแรก วันที่ 9 มีนาคม 2558 มอบหมายให้คณะทำงานทั้ง 3 ด้าน (ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพ สถานพยาบาล และการโฆษณา) ทำหน้าที่สรุปทบทวนและจัดทำข้อเสนอแนวทางและแผนการดำเนินงานในแต่ละด้านให้คณะอนุกรรมการพิจารณาในครั้งต่อไป

ยึดหลักแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่และการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด 1.2 มีคณะอนุกรรมการฯเพื่อพัฒนากลไกการดำเนินงาน คุ้มครองผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด ยึดหลักแนวทางการแก้ไขปัญหาในพื้นที่และการพัฒนาร่วมกันทั้งจังหวัด 1.มีคณะอนุกรรมการดำเนินการตามกฎหมายของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด และคณะทำงานการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข 2.มีการวิเคราะห์ข้อมูลผลการดำเนินงาน ปี 2557 3.กำหนดนโยบายและแผนการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับจังหวัด 4.มีการสร้างความเข้มแข็งให้กับเจ้าหน้าที่ ผู้ประกอบการ และผู้บริโภค 5. มีการพัฒนาเครือข่ายงานคุ้มครองผู้บริโภคสู่ระดับอำเภอ 6. มีระบบการจัดการเรื่องร้องเรียนด้านบริการและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 7. มีระบบติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

ประเด็นปัญหาด้านผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของจังหวัด ลำดับ ผลิตภัณฑ์ สถานพยาบาล สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 1 การใช้ยาในชุมชน - 2 การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพทางวิทยุชุมชน

ผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหา จัดทำโครงการการใช้ยาปลอดภัยในชุมชน - คัดเลือกตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว เป็นตำบลนำร่อง และจัดประชุมภาคีเครือข่าย การใช้ยาปลอดภัยในชุมชน วันที่ ๑๔ พ.ค. 58 ซึ่งส่วนใหญ่เป็น อสม./ผู้นำชุมชน ที่จะเป็นผู้สำรวจข้อมูล และเป็นแกนนำเครือข่ายดำเนินการในชุมชน - สำรวจข้อมูลแหล่งกระจายยา และข้อมูลการใช้ยาในครัวเรือน ในชุมชน และลงข้อมูลในฐานข้อมูล www.promoteRDU.com (อยู่ระหว่างการประมวลผล)

ผลการตรวจสถานประกอบการและผลิตภัณฑ์ที่เป็นปัญหา ประเด็น เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ตรวจ ผ่าน ร้อยละ สถานที่ผลิตน้ำบริโภค 377 345 343 99.42 ผลิตภัณฑ์น้ำบริโภค 190 179 69 60 (รอผล) 57.98 สถานที่ผลิตน้ำแข็ง 33 27 26 96.30 ผลิตภัณฑ์น้ำแข็ง 24 11 45.83

-จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและกำชับด้านกฎหมายแก่เจ้าของกิจการ 1.3 ร้อยละของเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน ณ สถานที่ผลิต ผ่านมาตรฐานตามประกาศฯ กำหนด(20-40 ppm) (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) จำนวนสถานที่ผลิตเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน จำนวน 11 แห่ง เป้าหมาย (A) (จำนวนที่เก็บ ตย.) ผลการดำเนินงาน(B) (จำนวนที่ผ่านมาตรฐาน) คิดเป็นร้อยละ (B/A)x100 14 เก็บ 14 ตัวอย่าง ผ่าน 6 ตัวอย่าง 42.85 ปัญหา ผู้ประกอบการยังขาดความตระหนักในการผลิต และให้ความสำคัญด้านหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตน้อย ตลอดจนผู้ปฏิบัติงานในสถานที่ผลิตส่วนใหญ่เป็นต่างด้าว (พม่า) มีปัญหาด้านสุขลักษณะส่วนบุคคล และภาษาในการสื่อสาร ข้อเสนอแนะ -จัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานและกำชับด้านกฎหมายแก่เจ้าของกิจการ -บังคับใช้กฎหมาย

1.4 ร้อยละของการโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (เป้าหมาย:ร้อยละ 100) ประเด็น ตรวจ ผลการดำเนินงาน ไม่ถูกต้อง มีการจัดการ ร้อยละ การโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพ อาหารเสริมและสถานพยาบาลผิดกฎหมายได้รับการจัดการ 10 รายการ 8 100 จังหวัดจัดการทำงานเป็น 4 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 ค้นหาปัญหา ระยะที่ 2 ประชุม/ให้ข้อมูล/ร่วมมือกับเครือข่าย ระยะที่ 3 เฝ้าระวัง ตรวจสอบ ประชาสัมพันธ์ ให้คำแนะนำ ดำเนินคดี (มิย.58 อยู่ในระยะนี้) ระยะที่ 4 ดำเนินการอย่างยั่งยืน จัดทำงานวิจัยร่วมกับคณะเภสัชศาสตร์ มช. โดยดึงให้นักศึกษาเข้ามามีส่วนร่วมในการฟังวิทยุและร่วมวางแผนการแก้ไขปัญหาโฆษณาทางสื่อวิทยุแบบครบวงจรโดยให้หน่วยงานภาคเอกชน และเครือข่ายดำเนินการร่วมกัน ร่วมกับ กสทช. ในการอบรมนายสถานี (เชียงใหม่ ลำพูน แม่ฮ่องสอน ~200 สถานี) ในวันที่ 10 ก.ค. 58

ดำเนินการตามกฎหมาย(แห่ง) 1.5 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามและคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาลได้รับการเฝ้าระวังและให้ดำเนินการตามกฎหมาย (เป้าหมาย:ร้อยละ 98) ประเด็น เป้าหมาย (แห่ง) ตรวจสอบ (แห่ง) ดำเนินการตามกฎหมาย(แห่ง) ร้อยละ 1.5.1 คลินิกเวชกรรมที่ให้บริการเสริมความงามได้รับการตรวจมาตรฐาน 112 แห่ง   70 แห่ง 62.50 1.5.2 เรื่องร้องเรียนคลินิกที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล (คลินิกเถื่อน) 20 เรื่อง 100

คณะอนุกรรมการสาธารณสุข (อสธจ.) เชียงใหม่ มีการจัดประชุม อสธจ.แล้ว ๑ ครั้ง ประเด็นสำคัญ เป็นเรื่องการออกข้อกำหนดในประเด็นสำคัญตามกฎหมายสาธารณสุข ได้แก่ - ตลาด สถานที่จำหน่ายอาหาร สถานที่สะสมอาหาร - การจัดการขยะ - ประเด็นที่เป็นปัญหาในจังหวัด(เครื่องทำน้ำอุ่น, การมีและใช้สารโปตัสเซี่ยมคลอเรต เป็นต้น)

ประเด็นที่ได้รับการพิจารณาของอสธจ. ที่ประชุมมีมติให้ท้องถิ่นจังหวัดร่วมกับสาธารณสุขจังหวัดจัดประชุมชี้แจงให้ความรู้เรื่องกฎหมายสาธารณสุขแก่ท้องถิ่นต่างๆ ที่ประชุมให้ความสำคัญกับการดูแลพัฒนาตลาด โดยเฉพาะตลาดประเภทที่ ๒ ให้มีการควบคุมกำกับโดยท้องท้องถิ่นให้มากขึ้น

เสนอเพื่อพิจารณา ควรมีความต่อเนื่องของการดำเนินการด้านการประชุมอนุกรรมการสาธารณสุข ควรให้มีคณะทำงานเพื่อผลักดันข้อเสนอ เผยแพร่มติ และติดตามผลการดำเนินงานตามมติ อาจพิจารณานำข้อแนะนำของคณะกรรมการสาธารณสุขมาใช้เป็นเงื่อนไขของท้องถิ่นในการพิจารณาการออกใบอนุญาตหรือต่อใบอนุญาตของท้องถิ่นได้ เช่นเดียวกับที่ จ.เชียงใหม่เคยผลักดันให้ใช้คำแนะนำเรื่องการจัดการฟาร์มสัตว์มาเป็นเงื่อนไขในการออกใบอนุญาต/ต่อใบอนุญาตฟาร์มสัตว์มาแล้ว

ขอขอบคุณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กรมอนามัย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์