Information Technology

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายการกระทำผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ในเกาหลีใต้ Cyber crime and IT law in South Korea ลักขณา สุทธานุช คณะวิทยาศาสตร์ สาขา.
การทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 รหัสวิชา ง 31101
1 การปรับปรุงรูปแบบการทำงานของ องค์การ เช่น การนำ มาใช้ในองค์การ มาใช้ในองค์การ 2. การสนับสนุนการดำเนินงานเชิงกลุยทธ์ 3. เครื่องมือในการทำงาน.
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
Communication Software
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
LOGO แนวคิดเกี่ยวกับระบบ สารสนเทศ นางสาวกนกรัตน์ นพ โสภณ SMET
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ 212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. เนื้อหาหลัก คอมพิวเตอร์คืออะไร คุณสมบัติของคอมพิวเตอร์ ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
ระบบสารสนเทศคอมพิวเตอร์ Computer Information Systems
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
Material requirements planning (MRP) systems
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
ระบบปฏิบัติการเบื้องต้น
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
บทที่ 1 : Introduction to Multimedia สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ
Information and Communication Technology Lab2
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Integrated Information Technology
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การบันทึกแบบสอบถามผู้ผ่านการฝึกอบรมฝีมือแรงงาน พ. ศ
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
Information System MIS.
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การอบรมระบบงานฯสำหรับผู้ใช้งาน (ส่วนภูมิภาค)
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
4 เทคโนโลยีสารสนเทศ สังคมเครือข่าย
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
การบริหารจัดการระบบสารสนเทศ (ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์)
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Information Technology อ.วรพจน์ พรหมจักร

Information System Information System คือ ระบบที่จัดเก็บ (Input) และประมวลผลข้อมูล (Processing) ข้อมูลเพื่อให้ได้มาซึ่งสารสนเทศ รวมถึงช่วยในการเผยแพร่ (Output) สารสนเทศ ซึ่งองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ประกอบด้วย 5 ส่วน คือ People Procedure Software Hardware และ Data

People บุคลากร เนื่องจากทุกๆ งานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์จะต้องกระทำโดยบุคลากร หรือ ผู้ใช้ (User) ทั้งสิ้น ดังนั้นบุคลากรจึงเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดของระบบสารสนเทศ

Procedure ระเบียบปฏิบัติการ เป็นกฎหรือแนวทางสำหรับบุคลากรในการใช้ซอฟต์แวร์ ฮาร์ดแวร์ และข้อมูล ระเบียบปฏิบัติการอาจรวมไปถึงคู่มือการใช้ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์ ที่ผู้เชี่ยวชาญด้านคอมพิวเตอร์เขียนขึ้นก็ได้

Software ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรม (Program) ประกอบด้วยคำสั่งหลายๆ คำสั่งที่บอกให้คอมพิวเตอร์รู้ว่าจะต้องทำงานตามขั้นตอนอย่างไร ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่แปลงข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลให้อยู่ในรูปของสารสนเทศ (Information)

System Software ซอฟต์แวร์ระบบ จะช่วยให้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องได้ ซอฟต์แวร์ระบบเป็นซอฟต์แวร์ที่ทำงานอยู่เบื้องหลัง (background) การดำเนินการของคอมพิวเตอร์ ช่วยให้คอมพิวเตอร์จัดเก็บทรัพยากรภายในเครื่องได้ ซอฟต์แวร์ระบบเป็นซอฟต์แวร์ที่รวมโปรแกรมหลายๆ โปรแกรมไว้ด้วยกัน Operating System Utilities หรือโปรแกรมอรรถประโยชน์

Application Software ซอฟต์แวร์ประยุกต์ อาจกล่าวได้ว่าเป็น ซอฟต์แวร์สำหรับผู้ใช้ (End User Software) แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้งาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์พื้นฐาน (Basic Application) หรือ ซอฟต์แวร์ประยุกต์อเนกประสงค์ (General-purpose Application) เป็นซอฟต์แวร์ที่นิยมใช้กันทั่วไปอย่างกว้างขวางในทุกสาขาอาชีพ ตัวอย่าง Browser (IE, Google Chrome and Mozilla Firefox) หรือ Microsoft Office

Application Software ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน (Specialized Application) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้งานเฉพาะสาขาอาชีพหนึ่ง ซอฟต์แวร์นี้เป็นที่รู้จักกันมากที่สุด คือ ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟิก (Graphic) เสียงและวิดีโอ (Audio and Video) มัลติมีเดีย (Multimedia) การพัฒนาเว็บ (Web Authoring) และ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligent)

Hardware ฮาร์ดแวร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศได้แก่ คีย์บอร์ด เมาส์ จอภาพ หน่วยระบบ และอุปกรณ์อื่นๆ ฮาร์ดแวร์จะถูกควบคุมโดยซอฟต์แวร์

Hardware คอมพิวเตอร์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทำตามคำสั่ง เพื่อรับข้อมูลมาประมวลผล และให้ผลลัพธ์เป็นสารสนเทศ ชนิดของคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ชนิด คือ Supercomputer Mainframe Computer Minicomputer and Microcomputer

Supercomputer ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพและความสามารถในการทำงานสูงมากเป็นพิเศษ มักจะใช้ในองค์กรขนาดใหญ่

Mainframe Computer เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่ต้องทำงานในห้องที่มีเครื่องปรับอากาศ แม้ว่าเมนเฟรมคอมพิวเตอร์จะมีประสิทธิภาพด้อยกว่าซูเปอร์คอมพิวเตอร์ แต่เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ก็สามารถประมวลผลด้วยความเร็วที่สูงมากและมีหน่วยความจำขนาดใหญ่

Minicomputer มินิคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ขนาดกลาง (Midrange Computer) นิยมใช้ในบริษัทขนาดกลาง หรือตามฝ่ายต่างๆ ของบริษัทขนาดใหญ่ เช่น ฝ่ายผลิต ใช้ตรวจสอบกรรมวิธีในการผลิตและสายงานการประกอบ

Microcomputer ไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพน้อยที่สุดแต่ได้รับความนิยมมากที่สุด และพัฒนาไปเร็วกว่าคอมพิวเตอร์ชนิดอื่นๆ ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้ 6 ชนิด Desktop Computer Media Computer Notebook Computer Tablet PC (iPad SS Galaxy Tab) Netbooks Handheld Computer (PDA : Personal Digital Assistance)

Hardware Microcomputer ฮาร์ดแวร์ของไมโครคอมพิวเตอร์ มีอุปกรณ์พื้นฐาน 4 ประเภท คือ หน่วยระบบ อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก หน่วยความจำสำรอง และอุปกรณ์สื่อสาร

Hardware Microcomputer หน่วยความจำระบบ (System Unit) Microprocessor ทำหน้าที่ควบคุมและประมวลผลข้อมูลเพื่อให้ได้สารสนเทศ Primary Storage หรือ หน่วยความจำเข้าถึงโดยสุ่ม (Random Access Memory) เรื่องสั้นๆ ว่า แรม (RAM) ทำหน้าที่เก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของโปรแกรมเพื่อรอการประมวลผล และเก็บสารสนเทศที่ผ่านการประมวลผลแล้วก่อนที่จะส่งไปยังอุปกรณ์ส่งออก

Hardware Microcomputer อุปกรณ์รับเข้า/ส่งออก Input Device (Keyboard and Mouse) Output Device (Monitor)

Hardware Microcomputer หน่วยความจำสำรอง Hard disk Solid State Storage (SSD, USB Drive and Optical Disk)

Hardware Microcomputer อุปกรณ์สื่อสาร (Communication Device) Modem ทำหน้าที่ในการแปลงสัญญาณอะนาล็อกที่ผ่านมาทางสายโทรศัพท์ ให้เป็นสัญญาณดิจิทัล เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารประมวลผลได้ และกลับกัน ก็สามารถแปลงสัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณอะนาล็อกให้ส่งผ่านทางสายโทรศัพท์ได้

Data ข้อมูล หรือ ข้อมูลดิบ (Raw Data) คือ ข้อเท็จจริงที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลอาจจะอยู่ในรูปของข้อความ ตัวเลข รูปภาพ และเสียง เช่น จำนวนชั่วโมงการทำงานและอัตราค่าตอบแทน เป็นต้น ข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์เรียกว่า สารสนเทศ (Information)

Data ไฟล์ข้อมูลพื้นฐาน Document File Worksheet File Database File Presentation File

Connectivity ปัจจุบันระบบสารสนเทศมีองค์ประกอบที่สำคัญเพิ่มขึ้น ได้แก่ ภาวะเชื่อมต่อ (Connectivity) ที่ทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเชื่อมต่อ และแลกเปลี่ยนสารสนเทศได้ ซึ่งช่วยขยายขีดความสามารถและประโยชน์ของระบบสารสนเทศออกไปได้มากขึ้น

Connectivity เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกคือ Internet ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทุกคนสามารถใช้ประโยชน์ได้โดยอาศัยไมโครคอมพิวเตอร์เพื่อเป็นตัวเชื่อมโยงบนอินเตอร์เน็ตซึงมีบริการต่างๆ มากมาย เช่น World Wide Web