เทคโนโยลีเว็บและมาตรฐานสำหรับห้องสมุดดิจิทัล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Mr. Winai Purikasem. Introduction  Hypertext model  Use of hypertext in World Wide Web (WWW)  WWW client-server model  Use of TCP/IP protocols in.
Advertisements

BY KIADTIPONG YORD. CHANDRA 2004 :: COMPUTER NETWORK ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการกระจาย Computer Network and Distributed LAN Software เกียรติพงษ์ ยอดเยี่ยมแกร.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
โดย จิรวัฒน์ พรหมพร Database Training Manager Book Promotion & Service Co,. Ltd.
การเผยแพร่เอกสาร (Publish)
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
E-learning การเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Learning) เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต (Internet) หรืออินทราเน็ต (Intranet)
Management Plus เป็นที่รู้จักดีในด้านการผลิต สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องทางด้านวิชาการ เป็นฐานข้อมูลที่ ครอบคลุมและสมบูรณ์ที่สุดในสาขาการจัดการ ครอบคลุม สาขาวิชาการบัญชีและการเงิน.
งานบุคลากร กลุ่มพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
Chapter I พฤติกรรมผู้บริโภค.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
เครือข่ายสังคมออนไลน์
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
เทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
พัฒนาการสื่อใหม่ ( เวปไซต์และสังคมออนไลน์ ). เวปไซต์คือ ?
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
สินค้าและบริการ.  บริการ Internet Data Center (IDC) เป็นศูนย์กลางข้อมูลอินเทอร์เน็ตครบวงจร ที่ให้บริการโดย บมจ. ทีโอ ที เป็นบริการรับฝากอุปกรณ์ ICT.
Powerpoint Templates Page 1 Powerpoint Templates โด ย นางสาวสุรา ภรณ์ คงผล มาตรฐานการบันทึกผลงาน ในระบบเครือข่ายสารสนเทศ งานวิจัยเกษตรไทย และระบบ ห้องสมุดดิจิทัลเกษตรไทย.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการ สร้างเว็บไซต์. ศัพท์เบื้องต้นเกี่ยวกับเว็บไซต์ Internet คือ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ที่สุดใน โลกเกิดจากการเชื่อมโยง.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบเครือข่าย. สัญญาณอิเล็คทรอนิกส์ อนาล็อก (ANALOG) สัญญาณมีความต่อเนื่อง ถูกรบกวนได้ง่าย มี Noise มาก.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
รายวิชา การเขียนโปรแกรมบนเว็บ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ PHP Introduction to PHP
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
Meta data.
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Bc312 การพัฒนาโปรแกรมบนอินเตอร์เน็ต
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
การใช้งานฐานข้อมูล ACM Digital Library
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 10 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 11 : การบีบอัดข้อมูล (Data Compression) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
Integrated Information Technology
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Internet
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
กรอบรายการตรวจรับ อุปกรณ์ Firewall สำหรับจังหวัด
SMS News Distribute Service
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เทคโนโยลีเว็บและมาตรฐานสำหรับห้องสมุดดิจิทัล เนณุภา สุภเวชย์

Internet และ World Wide Web WWW (World Wide Web) Web site, Web page, Homepage URL (Uniform/Universal Resource Locator) http://www.mwa.or.th:8080/services/news.html Protocol domain port path file name

https ? (=secure server)

มาตรฐานด้านการสื่อสาร TCP/IP เป็นprotocol ในการสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เนต ประกอบด้วย protocol ย่อย มากมาย เช่น FTP (File Transfer Protocol), Telnet, SMTP (Simple Mail Transfer Protocol) HTTP เป็น protocol ของ world wide web ใช้เป็นมาตรฐานการรับส่งข้อมูลระหว่าง server และ client หรือ web browser (เช่น Internet Explorer, Netscape) การรับส่งข้อมูล ทำผ่าน IIS (Internet Information Server) เช่น Apache, Microsoft IIS เป็นต้น Z39.50, ISO 23950 (search and retrieve protocol) เป็น protocol สำหรับการค้นคืนสารนิเทศข้ามระบบห้องสมุดโดยใช้เครื่อง terminal เดียว (origin) ส่ง request ไปยัง server (target) ต่างๆ ISO10160 และ ISO10161 เป็นมาตรฐานด้านการยืมระหว่างห้องสมุดที่เป็นไปในทำนองเดียวกับมาตรฐาน Z39.63 สำหรับการสื่อสารข้ามระบบห้องสมุด EDI มาตรฐานการสื่อสารระหว่างห้องสมุดกับ supplier มี 3 standards Tradacoms, Edifact และ X12. Edifact ใช้ในกระบวนการจัดซื้อ

การค้นหาสารนิเทศด้วย Z39.50 เป็น Protocol หนึ่งสำหรับการค้นสารนิเทศข้ามระบบห้องสมุด ค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลหลายฐานได้พร้อมกัน (เช่น online databases หรือระบบห้องสมุด) ค้นหาโดยหน้าจอใช้งานเดียว (Interface) ส่งเสริมการยืมคืนระหว่างห้องสมุด ดูการทำงานของ z39.50 ได้จาก www.copac.ac.uk http://www.webclarity.info/video/BookWhere5Features.html

มาตรฐานด้านการเข้ารหัส ASCII เป็นชุดอักขระ 7 บิต เช่น A จะแสดงเป็น 1000001 ต่อมาขยายชุดแอสกีเป็น 8 บิต มีอักขระเพิ่มขึ้นเป็น 256 อักขระ คือ 0-255 ครอบคลุมอักขระที่จำเป็นในภาษาอังกฤษและมีอักขระพิเศษหลายตัวด้วย UNICODE (Universal Character Set, ISO10646) เป็นแบบ 16 บิต แทนค่าได้มากกว่า 65,000 อักขระ ใช้แทนอักขระได้ทุกตัว ทุกภาษา รวมถึงเครื่องหมายต่างๆ มอก.620 หรือ TIS-620 เป็นอักขระชุดภาษาไทย Windows-874 เป็นอักขระชุดภาษาไทย เช่นกัน

มาตรฐานด้านการแสดงรายละเอียดทรัพยากร Mark up language เป็นโครงสร้างภาษาที่ใช้ในการแสดงรายละเอียดของสารนิเทศ ประกอบไปด้วย tag ต่างๆ SGML เริ่มสร้างในปี 1969 โดย IBM และเป็นมาตรฐานเปิดในปี 1986 ประกอบไปด้วย 3 ส่วนคือ Declaration Document Type Definition (DTD) Document (ตัวข้อมูล)

มาตรฐานด้านการแสดงรายละเอียดทรัพยากร HTML เริ่มต้นในปี 1990 พัฒนามาจาก SGML เพื่อช่วยให้แสดงผลข้อมูลได้ง่ายขึ้น ประกอบด้วย Tag attribute ของ tag ข้อความที่ต้องการแสดง อยู่ระหว่าง tag เปิดและ tag ปิด ปัญหาเกิดเพราะ เริ่มมีคนใช้ www มาก ใช้ HTML สร้างเว็บไซต์มาก เริ่มมี search engine แต่ค้นหาข้อมูลได้ไม่ละเอียดมาก มี Meta tag สำหรับช่วยให้คำสำคัญและรายละเอียดของเว็บเพจ ซึ่ง search engine จะนำไป index ในฐานข้อมูล

มาตรฐานด้านการแสดงรายละเอียดทรัพยากร XML คิดค้นในปี 1996 มุ่งเน้นสำหรับการจัดโครงสร้างข้อมูล แต่ไม่สามารถแสดงผลข้อมูลหรือจัดหน้า/สี/ข้อความได้ในตัว การแสดงผล ต้องใช้ Style sheet เช่น XSL (eXtensible Stylesheet Language) ในการใช้ XML จะประกอบด้วย XML – ตัวข้อมูล XSL – สำหรับแสดงผล DTD (Document Type Declaration) หรือ XML Data Schema สำหรับตรวจสอบโครงสร้างข้อมูล โดยประกาศว่า 1 record ประกอบด้วย element และ element ย่อยอะไรบ้าง มีชนิดของข้อมูล เช่น empty, textonly เป็นต้น Database (หากต้องการใช้ ต้องมีการแปลงข้อมูลเป็น XML ก่อน)

มาตรฐานห้องสมุดทั่วไป ห้องสมุดทั่วไป ใช้ MARC ในการลงรายการทางบรรณานุกรม MARC มีหลาย Format ซึ่งแต่ละ Format เป็นผลการนำไปประยุกต์ใช้งานจากมาตรฐาน ISO 2709:1981 Format for Bibliographic Information Interchange ซึ่งระบุว่า record หนึ่งๆ ต้องประกอบด้วย record label (indicator, subfield), directory, data fields, record terminator

มาตรฐานห้องสมุดทั่วไป2 MARC เป็นการ Map ISBD ลงไปใน field ต่างๆ ปัญหาของ ISO2709 คือไม่ได้ระบุความหมายของชื่อ field หรือ tag ทำให้เกิด MARC format ต่างๆมากมาย เช่น Statement of Responsibility ใน USMARC ใช้ 245$h UNIMARC ใช้ 200$b การแลกเปลี่ยน import/export MARC record ต้องเป็น MARC ตระกูลเดียวกัน software บางชื่อจะมี converter ติดตั้งในตัว เช่น import AusMARC>UniMARC เป็นต้น

ปัญหาของ MARC เมื่อจะนำมาใช้กับ Digital Library ขนาดของข้อมูลใน field(tag) และrecord ใน tag จำกัดที่ 9,999 และรวมขนาด record ทั้งหมด ต้องไม่เกิน 99,999 character ในขณะที่ข้อมูลใน digital library ส่วนใหญ่เป็น Full-text ทำให้มี record ขนาดใหญ่ ไม่ support สารนิเทศที่ digitally born, digitally live. ขัดแย้งกับ Entity-relationship Model การสร้าง library software ที่ support MARC จะทำให้โครงสร้างฐานข้อมูล complex มากกว่า Non-MARC system MARC ต้องทำ Inverted File Index ขณะที่ RDBMS เช่น MS Accessสามารถค้นหาคำใน field ได้ โดยไม่ต้องตัดแบ่งคำมาทำ inverted file

XML กับห้องสมุด ใช้เป็นสื่อกลางในการ import/export ข้อมูล สำหรับ MARC ทุก Format และ Non-MARC อาจใช้ หรือไม่ใช้ Database ช่วยในการจัดเก็บอีกชั้นหนึ่งก็ได้ มาตรฐาน MARC สำหรับ XML ดูได้ที่ http://www.loc.gov/standards/marcxml

XML กับ Other industries เนื่องจากสามารถประกาศโครงสร้างข้อมูลเองได้ใน DTD/Schema หากต้องการแลกเปลี่ยนข้อมูลกันจริงๆ ต้องกำหนดมาตรฐานโครงสร้างข้อมูลขึ้นมาใช้ร่วมกัน มาตรฐานที่กำหนดขึ้นมาแล้ว เป็น Metadata เช่น Dublin Core สำหรับทรัพยากรห้องสมุด GILS สารนิเทศภาครัฐ (สหรัฐอเมริกา) TEI นิยมใช้ในทางวรรณกรรมและภาษา มีtag revision EAD (Encoded Archival Description) สำหรับสารนิเทศจดหมายเหตุ ใช้สร้าง finding aids

XML กับ Other industries ใช้ในวงธุรกิจ และ computer system เนื่องจาก Microsoft ผลักดันให้มีการใช้ XML ใช้ใน E-Commerce ใช้ในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ทั้งนี้ หากต้องการนำข้อมูล XML record ไปใช้งานต่อ ต้องมีโปรแกรมรองรับ ใช้ในการสร้างเว็บไซต์ เนื่องจากการแยกส่วนของข้อมูลกับ Programming ทำให้การทำงานร่วมกันระหว่าง graphic และ Programmer ง่ายขึ้น

Link XML และ Metadata ที่น่าสนใจ How does XML Help Libraries http://www.infotoday.com/cilmag/sep02/Banerjee.htm Encoded Archival Description (EAD) http://www.loc.gov/ead/ Text Encoding Initiative (TEI) Consortium http://www.tei-c.org http://etext.lib.virginia.edu/bin/tei-tocs-p3?div=DIV1&id=HD มาตรฐานต่างๆบน web www.w3c.org Z39.50 Maintenance Agency http://lcweb.loc.gov/z3950/agency

มาตรฐานด้านสื่อประเภทต่างๆ Graphic Interchange Format – Gif Joint Photographic Experts Group – Jpeg Portable Network Graphics – PNG Audio Interchange File Format – AIFF Musical Instrument Digital Interface – MIDI MPEG Audio Player3 – MP3 Moving Picture Experts Group - MPEG

More information http://www.loc.gov/standards/marcxml/ How does xml help libraries? http://www.infotoday.com/cilmag/sep02/Banerjee.htm More from e-journal articles