ภัยธรรมชาติและการระวังภัย หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
ภัยธรรมชาติและการระวังภัย ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นฉับพลัน ภัยธรรมชาติที่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า
ภัยธรรมชาติที่มีสัญญาณเตือนล่วงหน้า
อุทกภัย สาเหตุการเกิดอุทกภัย ฝนตกหนักต่อเนื่อง การระบายน้ำไม่ดี พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม น้ำทะเลหนุน แม่น้ำตื้นเขิน
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากอุทกภัย ไม่สร้างสิ่งกีดขวางทางน้ำ ขุดลอกลำน้ำเพื่อลดการตื้นเขิน บริหารจัดการน้ำส่วนเกิน ติดตั้งระบบเตือนภัยล่วงหน้า ติดตามข่าวการพยากรณ์อากาศ
แผ่นดินถล่ม สาเหตุแผ่นดินถล่ม ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง ฝนตกหนักอย่างต่อเนื่อง การสึกกร่อนของหิน ความลาดเอียงของพื้นที่ แผ่นดินไหวภูเขาไฟปะทุ การตัดไม้ทำลายป่า
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากแผ่นดินถล่ม ไม่บุกรุกทำลายพื้นที่ป่า ไม่ก่อสร้างอาคารตามไหล่เขา ไม่ทำการเกษตรบริเวณเชิงเขา ไม่สร้างสิ่งก่อสร้างใกล้ เส้นทางน้ำไหลตามธรรมชาติ ติดตามข่าวสารการพยากรณ์ ของกรมอุตุนิยมวิทยา
ภัยแล้ง สาเหตุภัยแล้ง การตัดไม้ทำลายป่า การตัดไม้ทำลายป่า การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิโลก การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การพัฒนาด้านอุตสาหกรรม
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากภัยแล้ง ลดการตัดไม้และฟื้นฟูพื้นที่ป่าไม้ ทำฝนเทียม สร้างฝาย เขื่อน ขุดลอกแหล่งน้ำ ใช้น้ำอย่างประหยัด ติดตามข่าวสารพยากรณ์อากาศ
ไฟป่า อากาศแห้ง อุณหภูมิสูง การเผาป่าเพื่อล่าสัตว์ สาเหตุการเกิดไฟป่า อากาศแห้ง อุณหภูมิสูง การเผาป่าเพื่อล่าสัตว์ การขยายพื้นที่เพาะปลูก ฟ้าผ่า กิ่งไม้เสียดสีกัน ภูเขาไฟปะทุ ความประมาท ความคึกคะนอง 8
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากไฟป่า การทำแนวกันไฟ เตรียมเจ้าหน้าที่ดับไฟป่า การปลูกต้นไม้เพื่อให้มีความชุ่มชื้น การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้น รณรงค์ป้องกันไฟป่า
วาตภัย สาเหตุวาตภัย พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน และพายุไต้ฝุ่น พายุฤดูร้อน ลมงวง (ทอร์นาโด)
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากวาตภัย ติดตามสภาวะอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ฝึกซ้อมการป้องกันภัยพิบัติ เตรียมอุปกรณ์ยังชีพ ในยามฉุกเฉิน ซ่อมแซมอาคารให้แข็งแรง ชาวประมงงดออกเรือใน ช่วงที่มีพายุ
ภูเขาไฟปะทุ สาเหตุภูเขาไฟปะทุ มีการสะสมของความร้อน อย่างมากบริเวณนั้น ทำให้มี แมกมา ไอน้ำ และแก๊สสะสม ตัวอยู่มากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่ง ก่อให้เกิดความดัน ความร้อน สูง เมื่อถึงจุดหนึ่งมันจะ ระเบิดออกมา
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากภูเขาไฟปะทุ เตรียมเสบียง ยารักษาโรค เครื่องใช้ ที่จำเป็น รวมทั้งเครื่องมือสื่อสาร ติดตามข่าวสารจากศูนย์เตือนภัย และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ควรหลบอยู่ในอาคาร สิ่งก่อสร้าง เพราะอาจถล่มลงมาจากแผ่นดินไหว หรือเถ้าภูเขาไฟ
ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นฉับพลัน
คลื่นสึนามิ สาเหตุการเกิดสึนามิ การปะทุของภูเขาไฟใกล้มหาสมุทร การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล การเกิดแผ่นดินถล่มใต้ทะเลหรือใกล้ฝั่ง แผ่นดินไหวรุนแรงใต้ท้องทะเล การเคลื่อนตัวของแผ่นเปลือกโลก การพุ่งชนของอุกกาบาตขนาดใหญ่ในมหาสมุทร
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากคลื่นสึนามิ ปลูกป่าชายเลนเพื่อลดความรุนแรงของคลื่น ศึกษาหาความรู้และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสึนามิ ถ้าระดับน้ำทะเลบริเวณชายหาดลดลงอย่างรวดเร็ว ไม่ควรลงไปที่ชายหาด ติดตามข่าวสารและปฏิบัติตามประกาศเตือนของหน่วยงานต่างๆ
แผ่นดินไหว สาเหตุการเกิดแผ่นดินไหว การเคลื่อนที่ของขอบรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก ภูเขาไฟปะทุ การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ การสูบน้ำใต้ดินมาใช้มากเกินไป การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดิน
แนวทางป้องกันและระวังภัยจากแผ่นดินไหว กำหนดนโยบายการสร้างอาคาร ให้สามารถรับแรงแผ่นดินไหว ศึกษาคู่มือภัยแผ่นดินไหว ติดตามข้อมูลข่าวสารการเตือนภัย ฝึกซ้อมการรับมือกับแผ่นดินไหว