งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย
มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 ข้อมูล

3 สภาพภูมิประเทศ ประกอบด้วย 8 ลุ่มน้ำย่อย

4 ปริมาณฝน - น้ำท่าเฉลี่ย จังหวัดนครศรีธรรมราช
ปริมาณฝนเฉลี่ย 1,961 มิลลิเมตร/ปี ปริมาณน้ำท่าเฉลี่ย 8,865 ล้าน ลบ.ม./ปี

5 การใช้ประโยชน์ที่ดิน จังหวัดนครศรีธรรมราช

6 ข้อมูลจังหวัดนครศรีธรรมราช
สสนก. สนับสนุนข้อมูลระดับจังหวัด ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐานทางเศรษฐกิจ-สังคม, ข้อมูลความต้องการใช้น้ำ, แผนที่ภูมิประเทศ, แหล่งน้ำ, ขอบเขตชลประทาน และตำแหน่งสถานีตรวจวัดสภาพอากาศและระดับน้ำ เป็นต้น

7 ข้อมูลแผนที่น้ำระดับตำบล
สสนก. สนับสนุนข้อมูลแผนที่น้ำระดับตำบลให้แก่หน่วยงานท้องถิ่นพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 20 ตำบล ลำดับ หน่วยงาน ตำบล อำเภอ จังหวัด 1 เทศบาลเมืองทุ่งสง ตำบลทุ่งสง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2 เทศบาลตำบลที่วัง ตำบลที่วัง 3 เทศบาลตำบลกะปาง ตำบลกะปาง 4 องค์การบริหารส่วนตำบลนาโพธิ์ ตำบลนาโพธิ์ 5 องค์การบริหารส่วนตำบลหลวงเสน ตำบลหลวงเสน 6 องค์การบริหารส่วนตำบลบางขัน ตำบลบางขัน อำเภอบางขัน 7 องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านนิคม ตำบลบ้านนิคม 8 องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านลำนาว ตำบลบ้านลำนาว 9 องค์การบริหารส่วนตำบลวังหิน ตำบลวังหิน 10 องค์การบริหารส่วนตำบลควนทอง ตำบลควนทอง อำเภอขนอม 11 องค์การบริหารส่วนตำบลฉวาง ตำบลฉวาง อำเภอฉวาง 12 องค์การบริหารส่วนตำบลนาแว ตำบลนาแว 13 องค์การบริหารส่วนตำบลสวนหลวง ตำบลสวนหลวง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ 14 องค์การบริหารส่วนตำบลเสือหึง ตำบลเสือหึง อำเภอเชียรใหญ่ 15 องค์การบริหารส่วนตำบลถ้ำพรรณรา ตำบลถ้ำพรรณรา อำเภอถ้ำพรรณรา 16 องค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน ตำบลตลิ่งชัน อำเภอท่าศาลา 17 องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งใหญ่ ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอทุ่งใหญ่ 18 องค์การบริหารส่วนตำบลปริก ตำบลปริก 19 องค์การบริหารส่วนตำบลทุ่งสง อำเภอนาบอน 20 องค์การบริหารส่วนตำบลเปลี่ยน ตำบลเปลี่ยน อำเภอสิชล

8 ผังน้ำเทศบาลเมืองทุ่งสง

9 เครือข่าย

10 ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัด
วัตถุประสงค์ในการนำไปใช้ประโยชน์ ทดสอบ การบริหารจัดการน้ำในภาวะปกติ และภาวะวิกฤต : ใช้ข้อมูลสภาพภูมิประเทศ และข้อมูล โครงสร้างพื้นฐาน ร่วมกับข้อมูลจากสถานีตรวจวัดปริมาณน้ำและสภาพอากาศ และข้อมูลคาดการณ์ฝน เพื่อ วิเคราะห์สถานการณ์น้ำในพื้นที่ และประกอบการเฝ้าระวัง แจ้งเตือนภัยได้อย่างทันท่วงที วางแผน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ และจัดสรรงบประมาณพัฒนาแหล่งน้ำ : ใช้ข้อมูลบนระบบเพื่อ ประกอบการวางตำแหน่ง และประเภทโครงการรายตำบล เพื่อวิเคราะห์เส้นทางน้ำร่วมกับเส้นทางถนนที่อาจกีด ขวางทางน้ำ พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากที่สามารถปรับเป็นพื้นที่แก้มลิงรับน้ำ ตำแหน่งท่อระบายน้ำอุดตัน หรือทางน้ำ ตื้นเขิน เป็นต้น สามารถพิจารณาจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ และความหนาแน่นของ โครงการ ติดตาม ความก้าวหน้าโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ : ใช้ข้อมูลตำแหน่งโครงการ และปีที่ได้รับการจัดสรร งบประมาณ พร้อมทั้งสถานการณ์ดำเนินงานโครงการ เพื่อแสดงโครงการที่กำลังดำเนินงานอยู่ และ/หรือ ดำเนินการแล้วเสร็จ และ/หรือ เป็นโครงการต่อเนื่องหลายปี เป็นต้น 10

11 ขอบเขตการดำเนินงาน การบริหารจัดการน้ำระดับจังหวัด 11 ข้อมูล
เทคโนโลยี/tools การพัฒนาบุคลากร การปฏิบัติงาน คาดการณ์ระดับน้ำ ในแม่น้ำ เว็บไซต์ศูนย์บริหารจัดการน้ำ การบริหารภาวะวิกฤต จัดทำรายงานวิเคราะห์สถานการณ์น้ำในพื้นที่ CPY คาดการณ์ พื้นที่น้ำท่วม แบบจำลองคาดการณ์ฝน คาดการณ์ฝน วิเคราะห์สมดุลน้ำ ผังน้ำจังหวัดแพร่ ผังน้ำ การบริหารภาวะปกติ ผังน้ำเจ้าพระยา วิเคราะห์และติดตามสถานการณ์น้ำ จากแผนภาพต่างๆ สมดุลน้ำลุ่มน้ำย่อย SWAT ลุ่มน้ำย่อย สภาพภูมิประเทศ การใช้งานแผนที่และเก็บข้อมูลภาคสนาม (GIS/GPS) ทางน้ำ ลำน้ำสาขา ระบบ Internet GIS ลุ่มน้ำย่อย ข้อมูลในพื้นที่ จัดทำข้อมูลแผนที่ (Quantum GIS) พื้นที่น้ำท่วม/น้ำแล้ง แผนที่ภูมิประเทศ การใช้งาน Media Box โครงสร้างพื้นฐาน Media Box โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ การใช้งานเว็บไซต์และบันทึกข้อมูลแบบออนไลน์ อยู่ระหว่างการพัฒนา สถานีโทรมาตร 11

12 ผังบูรณาการข้อมูลระดับจังหวัด
สนับสนุนการบริหาร ในภาวะวิกฤต น้ำป่า/ดินถล่ม การบริหารจัดการน้ำท่วม ลดความเสียหายทางด้านการเกษตร ลดขนาดความเสียหาย จังหวัด ปภ.,ศภช. สนับสนุนการดำเนินการ วางแผนโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ บริหารแหล่งน้ำสำรอง/แก้มลิง การปลูกพืชตามปฏิทินการใช้น้ำ ระบบระบาย น้ำท่วม/น้ำเสีย ผังเมือง อบจ., อปท., หน่วยงานรับผิดชอบอื่น ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัด อุตุนิยมวิทยา พายุ ฝน ลม อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้นสัมพัทธ์ อุทกวิทยา -น้ำท่า -ระดับน้ำ -น้ำใต้ดิน สาธารณูปโภค -เขื่อน/ฝาย -แหล่งน้ำ/คลอง -สถานีสูบน้ำ -ถนน -ประปา เศรษฐกิจสังคม -จำนวนประชากร -ความต้องการใช้น้ำ ภาคอุปโภค-บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ภูมิประเทศ -ระดับความสูง -การใช้ประโยชน์ที่ดิน -ภาพถ่ายดาวเทียม -ขอบเขตการปกครอง -ลุ่มน้ำ สถิติ -พื้นที่น้ำท่วม/น้ำแล้ง -พื้นที่เสี่ยงภัย -ความเสี่ยงท่วมแล้ง คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ (NHC) แหล่งน้ำขนาดเล็ก ระบบชลประทาน โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ แผนงาน ข้อมูลระดับท้องถิ่น อบจ., อปท. ขอบเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ตั้งสถานที่สำคัญ งบประมาณโครงการ ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่าย และอุปกรณ์ จังหวัด 12 12

13 ตัวอย่างความสำเร็จ 13

14 ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดแพร่
สสนก. ขยายผลการดำเนินงาน แผนที่น้ำจังหวัด-ตำบล สู่ศูนย์ข้อมูลน้ำจังหวัด ร่วมมือกับส่วนราชการระดับจังหวัด ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อการติดตามสถานการณ์น้ำ ข้อมูลระดับจังหวัด จะเชื่อมต่อเข้าสู่คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ 14 14 14 14

15 ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดแพร่
15 15 15 15

16 ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดสุโขทัย
สสนก. ขยายผลการดำเนินงาน แผนที่น้ำจังหวัด-ตำบล สู่ศูนย์ข้อมูลน้ำจังหวัด ร่วมมือกับส่วนราชการระดับจังหวัด ถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อการติดตามสถานการณ์น้ำ ข้อมูลระดับจังหวัด จะเชื่อมต่อเข้าสู่คลังข้อมูลน้ำและภูมิอากาศแห่งชาติ 16 16 16 16

17 ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดสุโขทัย ผังน้ำจังหวัดสุโขทัย
17 17 17 17

18 ครุภัณฑ์และอุปกรณ์ที่จำเป็น Multi-Display Monitor
War Room Server and Network GIS and GPS 18

19 ตัวอย่างห้องศูนย์ปฏิบัติการ
ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดสุโขทัย < ศูนย์บริหารจัดการน้ำจังหวัดแพร่


ดาวน์โหลด ppt มองอนาคต “ เทือกเขานครศรีฯ ” ด้วยข้อมูลและเครือข่าย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google