แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การดำเนินการเยี่ยมบ้าน ของศูนย์สุขภาพชุมชน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
1. การประเมินผู้รับบริการก่อน ให้บริการ 2. การเฝ้าระวังผู้รับบริการกลุ่ม เสี่ยง 3. การเฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีการ แพร่กระจายเชื้อ 4. การมีส่วนร่วมในทีมสห.
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
ให้ความรู้ผู้ป่วยโรคไซนัสอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การปรับโครงสร้าง โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาแม่ แตง.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การขับเคลื่อนงานสุขภาพจิต วัยทำงาน ประจำปี 2559 โดย โรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราช นครินทร์
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
การเยี่ยมตรวจคุณภาพบริการการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
ศูนย์สุขภาพชุมชน (Mini Health Center)
โครงการพัฒนารูปแบบ การคัดกรองวัณโรคและการรักษาวัณโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
ระดับความเสี่ยง (QQR)
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
COMPETENCY DICTIONARY
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
SMS News Distribute Service
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
นายแพทย์สุวัช เซียศิริวัฒนา 19 พฤษภาคม 2552 โรงแรมอมารีแอร์พอร์ต
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
แนวปฏิบัติการคืนยาผู้ป่วยใน โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
II-4การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ
ขดลวดพยุงสายยาง.
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ผู้รับผิดชอบโครงการ ICWN MICU3
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
รายงานสถานการณ์E-claim
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
ศูนย์รับเรื่องราวร้องเรียน รพ.บางไทร
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เป็นวัณโรคแบบบูรณาการ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ อรศิลป์ ชื่นกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรคติดเชื้อ โรงพยาบาลนครพิงค์ 250658

วัตถุประสงค์ แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย : การส่งต่อผู้ป่วยเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับระบบบริการสาธารณสุข เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการ รักษาพยาบาลที่ -มีมาตรฐาน -มีความต่อเนื่อง -มีประสิทธิภาพ

การส่งต่อ โรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า โรงพยาบาลตามสิทธิ์ โรงพยาบาลใกล้บ้าน สถานพยาบาล กลับบ้าน ฯลฯ

ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการ -ผู้ป่วย -ญาติ / ผู้ดูแล ผู้รับบริการ -ผู้ป่วย -ญาติ / ผู้ดูแล ผู้ให้บริการ -แพทย์ -พยาบาล -NA -พขร. -พนักงานเปล -call center

การติดต่อสื่อสาร การสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติ อธิบายความจำเป็นที่ต้องส่งต่อ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะอยู่โรงพยาบาล การให้ความรู้ ให้ข้อมูลที่ผู้ป่วยเข้าใจได้ง่าย ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน

การติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารก่อนการส่งต่อเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การส่งต่อมีประสิทธิภาพ แพทย์ผู้ส่งต่อควรติดต่อประสานงานกับแพทย์ผู้รับ เพื่อให้ทราบถึงปัญหาและสภาพ ของผู้ป่วย การส่งเวรระหว่างพยาบาล การเตรียมอุปกรณ์ Call center

ข้อกำหนดที่สำคัญ ความปลอดภัย -เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง -ผู้ป่วย & ญาติ

การป้องกัน&ควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ สำหรับบุคลากร ในการส่งต่อผู้ป่วยติดเชื้อ

การป้องกัน&ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ Standard precautions เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกราย Transmission-based precaution เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทราบ การวินิจฉัยแล้วโดยป้องกันตามกลวิธีการติดต่อเพิ่มเติมจากการดูแลผู้ป่วยด้วย Standard precautions ดังนี้ 2.1 Airborne precautions 2.2 Droplet precautions 2.3 Contact precautions

Standard precautions เป็นมาตรฐานป้องกันการกระจายเชื้อที่จะต้องปฏิบัติ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเลือด สารนํ้า สารคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยให้คํานึงว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคในร่างกายที่สามารถติดต่อโดยเลือดและสารคัดหลั่ง

สวมเครื่องป้องกันร่างกาย Standard precautions สวมเครื่องป้องกันร่างกาย การสวมผ้าปิดปาก ปิดจมูก (Mask) หน้ากาก (Face shield) แว่นตา (Goggle) เสื้อคลุม (Gown) ถุงมือ (Glove)

Airborne precautions การป้องกันเชื้อโรคที่แพร่ทางอากาศที่มขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน ได้แก่ วัณโรค (TB) หัด (Measles) สุกใส (Chickenpox) งูสวัดและเริมแบบแพร่กระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome ; SARS) และโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza)

FIT CHECK ; FIT TEST 56

FIT CHECK ; FIT TEST 56

การถอด Mask N95

Droplet precautions เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคจากละอองฝอยเสมหะ ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน นอกจากนี้ยังติดต่อจากการสัมผัส เยื่อบุตา เยื่อบุปากและจมูกได้แก่ หัดเยอรมัน (Rubella) คางทูม (Mumps) ไอกรน (Pertussis) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal infection) เป็นต้น

การสวม Mask ให้สวมผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด Surgical mask เมื่อต้องเข้าใกล้ผู้ป่วยภายในระยะ 3 ฟุต

Contact precautions เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดต่อได้โดยการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม Infectious diarrhea, Infectious wound, Abscess, Viral hemorrhagic infections, Viral conjunctivitis, Lice, Scabies (สายสมร พลดงนอก และ ศ.พญ.เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์ , 2557 การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล)

การสวมPPE

การสวมชุด Jupiter

การป้องกัน&ควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ สำหรับผู้ป่วย

สวัสดี