แนวทางการส่งต่อ ผู้ป่วยอายุรกรรม ติดเชื้อ อรศิลป์ ชื่นกุล พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ หัวหน้าหอผู้ป่วยโรคติดเชื้อ โรงพยาบาลนครพิงค์ 250658
วัตถุประสงค์ แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย : การส่งต่อผู้ป่วยเป็นเรื่องจำเป็นสำหรับระบบบริการสาธารณสุข เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับบริการ รักษาพยาบาลที่ -มีมาตรฐาน -มีความต่อเนื่อง -มีประสิทธิภาพ
การส่งต่อ โรงพยาบาลที่มีศักยภาพสูงกว่า โรงพยาบาลตามสิทธิ์ โรงพยาบาลใกล้บ้าน สถานพยาบาล กลับบ้าน ฯลฯ
ผู้เกี่ยวข้อง ผู้รับบริการ -ผู้ป่วย -ญาติ / ผู้ดูแล ผู้รับบริการ -ผู้ป่วย -ญาติ / ผู้ดูแล ผู้ให้บริการ -แพทย์ -พยาบาล -NA -พขร. -พนักงานเปล -call center
การติดต่อสื่อสาร การสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติ อธิบายความจำเป็นที่ต้องส่งต่อ ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะอยู่โรงพยาบาล การให้ความรู้ ให้ข้อมูลที่ผู้ป่วยเข้าใจได้ง่าย ให้คำแนะนำเมื่อกลับไปอยู่ที่บ้าน
การติดต่อสื่อสาร การติดต่อสื่อสารก่อนการส่งต่อเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้การส่งต่อมีประสิทธิภาพ แพทย์ผู้ส่งต่อควรติดต่อประสานงานกับแพทย์ผู้รับ เพื่อให้ทราบถึงปัญหาและสภาพ ของผู้ป่วย การส่งเวรระหว่างพยาบาล การเตรียมอุปกรณ์ Call center
ข้อกำหนดที่สำคัญ ความปลอดภัย -เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง -ผู้ป่วย & ญาติ
การป้องกัน&ควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ สำหรับบุคลากร ในการส่งต่อผู้ป่วยติดเชื้อ
การป้องกัน&ควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ Standard precautions เป็นวิธีป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในผู้ป่วยทุกราย Transmission-based precaution เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในผู้ป่วยที่ทราบ การวินิจฉัยแล้วโดยป้องกันตามกลวิธีการติดต่อเพิ่มเติมจากการดูแลผู้ป่วยด้วย Standard precautions ดังนี้ 2.1 Airborne precautions 2.2 Droplet precautions 2.3 Contact precautions
Standard precautions เป็นมาตรฐานป้องกันการกระจายเชื้อที่จะต้องปฏิบัติ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางเลือด สารนํ้า สารคัดหลั่งของผู้ป่วยโดยให้คํานึงว่าผู้ป่วยทุกรายอาจจะมีเชื้อโรคในร่างกายที่สามารถติดต่อโดยเลือดและสารคัดหลั่ง
สวมเครื่องป้องกันร่างกาย Standard precautions สวมเครื่องป้องกันร่างกาย การสวมผ้าปิดปาก ปิดจมูก (Mask) หน้ากาก (Face shield) แว่นตา (Goggle) เสื้อคลุม (Gown) ถุงมือ (Glove)
Airborne precautions การป้องกันเชื้อโรคที่แพร่ทางอากาศที่มขนาดเล็กกว่า 5 ไมครอน ได้แก่ วัณโรค (TB) หัด (Measles) สุกใส (Chickenpox) งูสวัดและเริมแบบแพร่กระจาย (Disseminated herpes zoster and Disseminated herpes simplex) โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (Severe Acute Respiratory Syndrome ; SARS) และโรคไข้หวัดนก (Avian Influenza)
FIT CHECK ; FIT TEST 56
FIT CHECK ; FIT TEST 56
การถอด Mask N95
Droplet precautions เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคจากละอองฝอยเสมหะ ที่มีขนาดใหญ่กว่า 5 ไมครอน นอกจากนี้ยังติดต่อจากการสัมผัส เยื่อบุตา เยื่อบุปากและจมูกได้แก่ หัดเยอรมัน (Rubella) คางทูม (Mumps) ไอกรน (Pertussis) ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal infection) เป็นต้น
การสวม Mask ให้สวมผ้าปิดปาก-จมูก ชนิด Surgical mask เมื่อต้องเข้าใกล้ผู้ป่วยภายในระยะ 3 ฟุต
Contact precautions เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคที่ติดต่อได้โดยการสัมผัสทั้งทางตรงและทางอ้อม Infectious diarrhea, Infectious wound, Abscess, Viral hemorrhagic infections, Viral conjunctivitis, Lice, Scabies (สายสมร พลดงนอก และ ศ.พญ.เพลินจันทร์ เชษฐ์โชติศักดิ์ , 2557 การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อในโรงพยาบาล)
การสวมPPE
การสวมชุด Jupiter
การป้องกัน&ควบคุม การแพร่กระจายเชื้อ สำหรับผู้ป่วย
สวัสดี