บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ ประเภทของบทรายการวิทยุโทรทัศน์ ประเภทของบทรายการวิทยุโทรทัศน์แบ่งตามเนื้อหาที่นำเสนอ ทำได้โดยการเสนอข่าวสารทั้งเหตุการณ์ประจำวันที่เกิดขึ้น เรื่องราวที่น่าสนใจ สาระความรู้ต่าง ๆ นอกจากการเสนอข่าวสารแล้ว สื่อมวลชนยังมีบทบาทสำคัญในการเสนอความบันเทิงแก่ผู้รับสารในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยเสมอ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ ก. บทประเภทสาระ (Documentary, Feature) เป็นการนำเอาข่าวสารความรู้ต่าง ๆ ที่น่าสนใจหรืออาจจะไม่น่าสนใจ แต่เป็นสิ่งที่ผู้รับสารควรจะรู้มานำเสนอ ข. บทประเภทบันเทิง (Fiction, Non Feature) มุ่งให้ผู้ชมได้รับความเพลิดเพลิน จึงไม่เน้นการเสนอเนื้อหาที่ยุ่งยากซับซ้อน แต่จะเสนอสิ่งที่ดูแล้วสนุก เข้าใจง่าย น่าติดตาม บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ ประเภทของบทรายการวิทยุโทรทัศน์แบ่งตามหน้าที่ของสื่อมวลชน ก. บทรายการที่มุ่งให้ข่าวสาร ข. รายการเพื่อความรู้ ความเห็น และการศึกษา ค. บทรายการเพื่อความบันเทิง ง. รายการเพื่อการประชาสัมพันธ์และการโฆษณา บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ ประเภทของบทรายการวิทยุโทรทัศน์แบ่งตามผู้รับสาร เนื่องจากมวลชนมีขนาดใหญ่ และหลากหลายในด้านอายุ อาชีพ เพศ เชื้อชาติ ศาสนา ความสนใจ ฯ ผู้รับสารที่แตกต่างกันย่อมมีความสนใจต่างกัน ผู้ส่งสารจึงควรวิเคราะห์ผู้รับสาร เพื่อผลิตรายการที่มีเนื้อหาเหมาะสมกับคุณลักษณะของผู้รับสารได้ ก. ผู้รับสารทั่วไป บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ ข. ผู้รับสารเฉพาะกลุ่ม 1. แบ่งตามวัย - รายการเด็ก - รายการเพื่อวัยรุ่น - รายการสำหรับผู้ใหญ่ - รายการสำหรับผู้สูงอายุ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ 2. แบ่งตามอาชีพ - รายการสำหรับแม่บ้าน - รายการเพื่อเกษตรกร - รายการสำหรับนักเรียน นิสิต นักศึกษา - รายการสำหรับคนกลุ่มอาชีพอื่น ๆ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ 1. รายการบรรยาย หรือพูดคนเดียว เน้นเนื้อหาสาระ 2. รายการสนทนา มีผู้ร่วมรายการ 2 คนขึ้นไป โดยมีผู้ดำเนินรายการเป็นผู้ร่วมสนทนา ซึ่งมีการกำหนดขอบเขตกันไว้ล่วงหน้า 3. รายการอภิปราย มีการตั้งหัวข้อไว้แล้ว ผู้ร่วมอภิปรายจะพูดในเวลาที่กำหนดให้ โดยมีผู้ดำเนินการอภิปรายซึ่งทำหน้าที่เป็นผู้นำ ช่วยเชื่อมโยงรายการ เน้นและสรุปประเด็น แต่ไม่ร่วมอภิปราย บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ 5. รายการเกมและตอบปัญหา มีผู้ร่วมรายการ เล่นเกม ผู้ดำเนินรายการต้องมีความสามารถ แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ดี จึงทำให้รายการสนุก 6. รายการสาธิต ทดลอง แสดงให้เห็นจริงในสิ่งใดสิ่งหนึ่ง การทำให้ดูเช่นการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 7. รายการเพลงและดนตรี วัตถุประสงค์คือการให้บันเทิงแก่ผู้ชม มีทั้งรูปแบบการแสดงเป็นวง การจัดฉากและนำเสนอนักร้องเป็นหลัก 8. รายการถ่ายทอดสด มุ่งรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นขณะเกิดเหตุ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ 9. รายการสารคดี เสนอเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยให้ทั้งความรู้และความเพลิดเพลิน 10. รายการนิตยสารทางอากาศ เป็นรูปแบบรายการที่นำเสนอเหมือนนิตยสารของสื่อสิ่งพิมพ์ 11. รายการละคร เป็นรูปแบบของการผูกเรื่อง และมีการแสดงตามท้องเรื่องที่เตรียมไว้แล้ว มุ่งเน้นให้รับความบันเทิง 12. รายการสาระละคร รูปแบบของละครและให้ความรู้ควบคู่กันไป 13. รายการรูปแบบอื่น ๆ เช่น รูปแบบผสมผสาน ปกิณกะ บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ รูปแบบการเขียนบท 1. Rundown Script, Fact Sheet (บทคร่าว ๆ) 2. Semi Script (บทกึ่งสมบูรณ์) 3. Fully Script (บทสมบูรณ์) บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ แบบฟอร์มการเขียนบท 1. The Two Column Script บางที่เรียกว่า Split Page Format เป็นบทที่อ่านแล้วเข้าใจง่าย ตอบสนองกับสื่อวิทยุโทรทัศน์ที่มีทั้งภาพและเสียง ทราบถึงความสัมพันธ์ระหว่างภาพและเสียง ด้านซ้ายจะเขียนข้อมูลเกี่ยวกับภาพ ด้านขวาเป็นข้อมูลสำหรับเสียง บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์ 2. The One Column Script บางที่เรียกว่า Single Column Format ในการเขียนบทบันเทิงคดี โดยเฉพาะบทละครโทรทัศน์และบทภาพยนตร์ ซึ่งมักมีความยาวมากและมีรายละเอียดมากทั้งในส่วนตัวแสดง มุมกล้อง ฉาก บรรยากาศ ฯ การเขียนบทแบบ The One Column Script ยังนิยมใช้ในการเขียนบทคร่าว ๆ (Rundown Script) เนื่องจากลำดับเรื่องราวและขั้นตอนได้ง่าย บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์