ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัดชัยภูมิ สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
พัทลุง นายเจษฎา ครรชิตานุรักษ์ -ว่าง- นายวีระยุทธ เมฆินทรางกูร
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ได้รับการตรวจคัด กรองความเสี่ยง  เกณฑ์ ที่สปสช. กำหนด ประชากร 15 ปีขึ้นไป กลุ่ม Non UC ร้อยละ 50 กลุ่ม UC ร้อยละ 50  เกณฑ์ที่ดำเนินการ กลุ่มข้าราชการ.
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก รพ.ป่าติ้ว
ประชุมMCH Board จังหวัดอุตรดิตถ์ ครั้งที่ ๒/๒๕๕๘ วันพฤหัสที่ ๑๘มิถุนายน ๒๕๕๘ ณ ห้องประชุมภูสอยดาว สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุตรดิตถ์
การจัดการข้อมูล 3 ฐาน จังหวัดร้อยเอ็ด นางสุภาภรณ์ ทัศนพงศ์ สสจ. ร้อยเอ็ด.
2 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง ตัวชี้วัดระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้าน บริการ อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประเด็น / ตัวชี้วัดผลงาน 1. การกำกับดูแลคุณภาพน้ำบริโภคในภาชนะ.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน และการเบิกวัคซีนโรต้า จ.เพชรบูรณ์ ภญ.ปิยะนาถ เชื้อนาค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
ระบบรายงานการเฝ้า ระวังโรคและภัยสุขภาพ จากการประกอบอาชีพ และสิ่งแวดล้อม แบบ Online สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข.
โดย ภก.อรรถกร บุญแจ้ง เภสัชกรชำนาญการ โรงพยาบาลมหาชนะชัย.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร ภก.กิตติศักดิ์ ไท้ทอง
การบริหารจัดการงบค่าเสื่อม ปี 2561
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนการชำระฐานข้อมูล เวชระเบียนของหน่วยบริการ ก่อนการเชื่อมโยงข้อมูลด้วยเทคโนโลยี Java Message Service (JMS) สำนักบริหารงานทะเบียน.
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
การพัฒนาข้อมูล HDC ปีงบประมาณ เมษายน 2559
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
งานแม่และเด็ก เครือข่ายสุขภาพอำเภอกะปง
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
การดำเนินงานกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิ จังหวัดเชียงใหม่
นายนุกูลกิจ พุกาธร นายธีรภัทร์ ฉ่ำแสง Cluster KISS
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาชุดคำสั่งประมวลผลข้อมูล
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
PMTCT service โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี
คณะกรรมการบริหารโรงพยาบาล คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การบันทึกเพื่อส่งออก 43 แฟ้ม ข้อมูลผู้พิการ (DISABILITY)
แนวทางการดูแล Very High Risk Pregnancy ตาม Udon model 7 Step
สรุปผลการดำเนินงานการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU) ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2560
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
ข้อมูลงาน EPI สสจ.อุดรธานี
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาระบบข้อมูล หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH) เพื่อประกอบการประเมินตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด (MCH) หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์ หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ จากหญิงตั้งครรภ์ ที่ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรก ก่อน 12 สัปดาห์ จากหญิงคลอด ที่มีประวัติได้รับการดูแลก่อนคลอดครบทั้ง 5 ครั้งตามเกณฑ์ วัดผลที่ PCU จากประชาชนในเขตรับผิดชอบ ใช้ข้อมูลจาก PCU โดย PCU ต้องบันทึกข้อมูลการให้บริการและเก็บข้อมูล ประชาชนในเขต ที่ไปรับบริการจากหน่วยอื่นมาบันทึก

คณะทำงานพัฒนาข้อมูล MCH พบประเด็นที่ต้องปรับปรุง 6 ข้อ PCU บันทึกข้อมูล ผิดช่อง PCU อยากได้ข้อมูลประวัติการเข้าตรวจท้องของคนที่มาฝากครรภ์ โปรแกรมประมวลผล แสดงผลการคำนวณผลงานไม่ถูกต้อง ผู้บริหาร ต้องการข้อมูลเพื่อใช้ติดตาม ควบคุมกำกับ ข้อมูลการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ/ผ่านเกณฑ์ ยังไม่ถูกนำเข้ามาในระบบ การบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด ของ PCU บางแห่งต่ำกว่าข้อมูลจริง

1. PCU บันทึกข้อมูล กรณี ประชาชนในเขตไปรับบริการที่หน่วยอื่น ผิดช่อง โรงพยาบาล ทั้ง 4 แห่ง บันทึกผิดหมดเลย รพ.สต. ส่วนมากบันทึกถูกต้องแล้ว แนวทางการแก้ไข - แจ้งในการประชุมคณะทำงานแล้ว - ทำหนังสือแจ้งเป็นทางการ

ขั้นตอนที่ 1 นำหญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาลงทะเบียนในระบบงานบัญชี 2

ผิดที่ ขั้นตอนที่ 2 เข้าไปที่หญิงตั้งครรภ์ที่ลงทะเบียนแล้ว บันทึกข้อมูลการรับบริการที่ช่อง เพิ่ม Visit

ขั้นตอนที่ 3 บันทึกข้อมูลลงทะเบียนวันและประเภทมารับบริการ

ขั้นตอนที่ 4 บันทึกข้อมูลการรับบริการ ตรวจก่อนคลอด

ข้อมูลที่ส่งให้ PCU ประกอบด้วย หมายเลขบัตรประชาชน ชื่อ ที่อยู่ จากการที่ ICT ได้จัดทำข้อมูลหญิงที่มาฝากครรภ์และมาคลอดที่ รพ. ทั้ง 4 แห่ง โดยแยกข้อมูลส่งให้เป็นราย PCU ข้อมูลที่ส่งให้ PCU ประกอบด้วย หมายเลขบัตรประชาชน ชื่อ ที่อยู่ รพ.ที่ฝากครรภ์/คลอด วันที่ฝากครรภ์/กำหนดคลอด/วันคลอด แนวทางการแก้ไข - งาน ICT ได้ทำการเพิ่มข้อมูลให้แล้ว

โปรแกรม Automatic Data MCH

ข้อมูล ประวัติการฝากครรภ์ ....... เพิ่มให้แล้ว ข้อมูล ประวัติการฝากครรภ์ ....... เพิ่มให้แล้ว

3. โปรแกรมประมวลผล HosXP_PCU แสดงผลการคำนวณผลงาน ฝากท้อง 5 ครั้ง ไม่ถูกต้อง ครั้งที่ อายุครรภ์(สัปดาห์) ช่วงอายุครรภ์ที่ตรวจ (+_ 2 Wk) 1 ภายใน 12 สัปดาห์ 0 – 12 2 18 16 – 20 3 26 24 – 28 4 32 30 – 34 5 38 36 – 40

การแก้ไข คือ ตั้งค่าในตารางประมวลผลเกณฑ์คุณภาพให้ถูกต้อง ตาราง person_anc_preg_week รพ. จะประสาน admin ให้ทราบ รพ.สต. ให้ทำการปรับแบบอัตโนมัติ (Basedatasynchonize)

**เมื่อทำการ base data แล้วให้ทำการกด recalc อีกครั้ง เพื่อให้ระบบได้ประมวลผลใหม่

4. ผู้บริหารระดับจังหวัด อำเภอ/CUP และ รพ 4. ผู้บริหารระดับจังหวัด อำเภอ/CUP และ รพ. ต้องการข้อมูลผลการดำเนินงาน ราย PCU เพื่อใช้ติดตาม ควบคุมกำกับผลงาน แนวทางการแก้ไข - งาน ICT กำลังดำเนินการ คาดว่าจะใช้เวลาประมาณ 2 wk

เครื่องมือในการควบคุมกำกับ

5. ข้อมูลการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ/ผ่านเกณฑ์ ยังไม่ถูกนำเข้ามาในระบบ ข้อมูลหญิงท้อง ที่ไปฝากครรภ์ ที่คลินิก มีจำนวนมากถึง 50 – 60 % ของหญิงคลอดที่ รพ.ทั้งหมด จากข้อมูล คนมาคลอด ประมาณ 1,900 – 2,000 คน ต่อไป แต่พบการฝากครรภ์ที่ โรงพยาบาลเพียง 800 – 900 คน เท่านั้น จากข้อมูลคนที่มาคลอดที่ รพ.นครนาย พบมากกว่าร้อยละ 50 ฝากท้องที่คลินิค การฝากครรภ์ที่คลินิก เป็นการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพ/ผ่านเกณฑ์ จริงหรือ คนไข้สิทธิ ข้าราชการ/ประกันสังคม เกือบทั้งหมดฝากพิเศษที่คลินิก ... มีการศึกษา,ฝากท้องเร็ว,มาตามนัด,มีเงิน....... คนไข้สิทธิ UC บางคนที่มีเงินฝากพิเศษที่คลินิก แล้วใช้สิทธิคลอดฉุกเฉินที่ รพ. ... มาตามนัด,มีเงิน....... จากการเก็บข้อมูล ของงานส่งเสริมสุขภาพ พบว่า ส่วนมากได้เกณฑ์คุณภาพ

ทำอย่างไร ...... จึงจะได้ข้อมูล จากคลินิกมาส่งต่อให้ PCU ฝากท้อง คลอด PCU

ทำอย่างไร ...... จึงจะได้ข้อมูล จากคลินิกมาส่งต่อให้ PCU ฝากท้อง คลอด Tool Automatic data PCU (งานส่งเสริมสุขภาพรับผิดชอบประสานงาน)

6. การบันทึกข้อมูลหญิงตั้งครรภ์/หญิงคลอด ของ PCU บางแห่งต่ำกว่าข้อมูลจริง